การศึกษาสถานภาพ และความต้องการในการพัฒนาผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์อาหารไทยเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน = studies on status and need in development of product and packaging of Thai food in order to enhance competitiveness capability / Sophapan Sunyansanoa

โดย: Sunyansanoa, Sophapan
ผู้แต่งร่วม: โสภาพรรณ สัญญาณเสนาะ | Thailand Institute of Scientific and Technological Research
Language: Thai ชื่อชุด: Res. Proj. no. 49-05, Sub. Proj no. 1 ; Final reportข้อมูลการพิมพ์: Bangkok : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 2008 รายละเอียดตัวเล่ม: ซ, 166 p. : tables, col. ill. ; 30 cm.ชื่อเรื่องอื่นๆ: การศึกษาสถานภาพและความต้องการในการพัฒนาผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์อาหารไทยเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันหัวเรื่อง: Exports | Farm produce | Food | Packaging | Sauces | เครื่องปรุงรส | การส่งออก | บรรจุภัณฑ์ | ผลิตผลเกษตร | ผลิตภัณฑ์อาหาร | อาหารพร้อมปรุงสารสนเทศออนไลน์: Click here to access cover | Click here to access full-text สาระสังเขป: 1. อาหารพร้อมปรุง (ready to cook) มุ่งเน้น ผลิตภัณฑ์ไก่และผลิตภัณฑ์กุ้ง.สาระสังเขป: 1. Ready to cook : poultry and shrimpสาระสังเขป: 2. Thai Sauce : Padthai sauce, Somtum sauceสาระสังเขป: 2. เครื่องปรุงรสอาหารไทย มุ่งเน้น น้ำผัดไท, น้ำยำชนิดต่าง ๆ.สาระสังเขป: 3. Agricultural products : vegetableสาระสังเขป: 3. ผลิตผลสดทางการเกษตร มุ่งเน้น พืชผักทางการเกษตร.สาระสังเขป: According to the survey to find out what problems Thai entrepreneurs have, it concludes that Thai entrepreneurs in the country face NTBs problems eg. Anti dumping while the entrepreneurs in the US i.e. Thai restaurants and Thai supermarkets would buy Thai products with the certification approved by the US Food and Drug Administration (USFDA) to create confidence for the consumers. - Authors.สาระสังเขป: At present, the United states of America import rules and regulations has less tariff barrier as a results of more FTAs are being agreed with other countries. However, after the 9/11 incident, those rules and regulations are now tightened especially on food products even though Thailand has the GSP advantage which allows Thai products to enter US market without having to pay tariff but the Non-Tariff Barriers are still the big problems for Thai exporters. The government is hoping that by doing Thailand-US FTA would lower the tariff to 0% and solve those NTBs problems to boost the trade volume and the economy between the two countries. On the other hand, signing FTAs with the US can cause major backlash to Thailand too especially to those farmers whose products are the same as those exporting from the US eg. chicken and other ready-made food producers. Therefore farmers and other Thai suppliers need to improve themselves to be able to compete in the world market in the near future. The exporters need to understand that each state in the US has the right to enact their own law enforcing in each state, the products which have been authorized by the US Customs to enter the US don't necessarily mean that they could be on the shelf of the every US stores across country.สาระสังเขป: Thailand Institute of Scientific and Technological Research has conduct research the status and need in development of product and packaging of Thai food in order to enhance competitiveness capability. The objectives so as to study in a procedure and regulations of the Thai export procedures and oversea import procedures. This project focus on the regulations of the United State of America, which is the main export market and emphasize on three products as follows :สาระสังเขป: The Thai export procedures, restrictions and regulations when exporting Thai products from Thailand can be divided according to the nature of products which are restrictive products, general products and standard products and also can be divided in to more specific categories detail eg. shrimp, poultry, agricultural products, food. As a result, when exporters wish to export these products, they should follow the product regulations and regulations set by that exporting country. The important organizations responsible for exporting are Customs Department and Department of Foreign Trade. More information is available from the Department of export promotion (www.depthai.go.th).สาระสังเขป: การสำรวจปัญหาการส่งออกด้านต่าง ๆ ของผู้ประกอบการที่เกี่ยวข้อง พบว่า ผู้ประกอบการภายในประเทศ ประสบปัญหามาตรการกีดกันทางการค้าที่มิใช่ภาษีศุลกากร (U.S. Non-TariffBarriers : NTBs) อาทิเช่น มาตรการการตอบโต้การทุ่มตลาด (Anti-Dumping : AD), ในส่วนผู้ประกอบร้านอาหารไทยและซุปเปอร์มาร์เก็ตในสหรัฐอเมริกา จะเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ของไทยสำหรับประกอบอาหารเพื่อจำหน่ายและเพื่อการบริโภคภายในครัวเรือน ซึ่งต้องผ่านการรับรองจากสำนักงานอาหารและยาสหรัฐ (US Food and Drug Administration : USFDA) เท่านั้น, ทั้งนี้เพื่อสร้างมั่นใจให้กับผู้บริโภค. - ผู้แต่ง.สาระสังเขป: ขั้นตอนการส่งออก กฎระเบียบ ข้อบังคับของประเทศไทย ด้านการส่งออกสินค้าไทยไปต่างประเทศนั้นพบว่า แบ่งแยกตามกลุ่มผลิตภัณฑ์หลัก ๆ ดังนี้ คือ สินค้าควบคุม, สินค้าทั่วไป และสินค้ามาตรฐาน, และแบ่งย่อยไปในรายกลุ่มผลิตภัณฑ์ เช่น กุ้ง, ไก่, พืชผักทางการเกษตร, อาหารแยกตามชนิดอาหาร เป็นต้น, ดังนั้นหากผู้ประกอบการส่งออกต้องการส่งออกผลิตภัณฑ์ใดจะต้องดำเนินการให้ถูกต้องตามกฎระเบียบ ข้อบังคับของผลิตภัณฑ์ และตามข้อบังคับของแต่ละประเทศที่ส่งออกนั้น ๆ โดยมีหน่วยงานด้านส่งออกที่สำคัญ ได้แก่ กรมศุลกากร, กรมการค้าต่างประเทศ ฯลฯ, สามารถศึกษาข้อมูลด้านการส่งออกได้ที่ เว็บไซต์กรมส่งเสริมการส่งออก (www.depthai.go.th).สาระสังเขป: สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.) ได้ดำเนินการศึกษาโครงการ การศึกษาสถานภาพ ปัญหา ความต้องการในการพัฒนาผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์อาหารไทยเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาขั้นตอนการส่งออก กฎระเบียบ/ข้อบังคับของประเทศไทย ในการส่งออกสินค้าไทยไปต่างประเทศ, ฐานข้อมูลกฎระเบียบ, ข้อบังคับต่าง ๆ มาตรการทางการค้าในการนำเข้าสินค้าของต่างประเทศ มุ่งเน้นศึกษาประเทศสหรัฐอเมริกาซึ่งเป็นตลาดหลักส่งออกสำคัญ โดยเน้นผลิตภัณฑ์ 3 กลุ่ม ได้แก่ :สาระสังเขป: สำหรับกฎระเบียบ/ข้อบังคับต่าง ๆ ในการนำเข้าสินค้าของประเทศสหรัฐอเมริกา แม้ว่ามาตรการกีดกันด้านภาษีศุลกากรจะมีแนวโน้มลดลงเนื่องจากจากเปิดเสรีทางการค้าภายใต้เขตการค้าเสรีต่าง ๆ มีเพิ่มขึ้น, แต่ภายหลังเหตุการณ์ก่อการร้าย 11 กันยายน 2544 สหรัฐฯ เข้มงวดในการนำเข้าสินค้าอาหารในระดับสูงมาก, ซึ่งแม้ว่าไทยจะได้รับสิทธิ GSP ทำให้สินค้าไทยสามารถเข้าสู่ตลาดสหรัฐฯ ได้โดยไม่ต้องเสียภาษี แต่ผู้ประกอบการไทยต้องประสบปัญหามาตรการกีดกันทางการค้าที่มิใช่ภาษีศุลกากร (NTBs), การเปิดเสรีทางการค้าระหว่างไทย-สหรัฐฯ จึงเป็นแนวทางหนึ่งที่ภาครัฐคาดหวังการลดภาษีศุลกากรให้เหลือศูนย์และขจัดอุปสรรคที่มิใช่ภาษี เพื่อเพิ่มปริมาณการค้าและการขยายตัวทางเศรษฐกิจระหว่างไทยและสหรัฐฯ, อย่างไรก็ตามการเปิดเสรีทางการค้าหรือเอฟทีเอไทย-สหรัฐฯ ดังกล่าว อาจส่งผลกระทบรุนแรงต่อเกษตรกรจำนวนมาก โดยเฉพาะเกษตรกรที่ผลิตสินค้าที่แข่งขันกับสินค้าส่งออกของสหรัฐฯ เช่น ไก่ และผู้ผลิตอาหารสำเร็จรูปบางรายการ เป็นต้น, ดังนั้น ผู้ประกอบการไทยจึงจำเป็นต้องเร่งพัฒนาศักยภาพของตนให้สามารถแข่งขันกับตลาดโลกได้ต่อไป ทั้งนี้มี ข้อควรคำนึงในการส่งสินค้าเข้าไปยังสหรัฐฯ คือ มลรัฐต่าง ๆ ของสหรั,ฯ มีสิทธิ์ออกกฏหมายบังคับใช้ภายในมลรัฐได้ ดังนั้น สินค้าที่ผ่านการตรวจของศุลกากรที่ด่านนำเข้า มิได้หมายความว่าจะสามารถนำไปวางจำหน่ายได้ทั่วทุกมลรัฐในสหรัฐฯ.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ชนิดของทรัพยากร Location Call number สถานะ Last seen Copy No. บาร์โค้ด
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 1 RP2008/1368
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 2 RP2008/1368-2
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 3 RP2008/1368-3
Browsing วว. เทคโนธานี shelves, Shelving location: วว. เทคโนธานี Close shelf browser
ไม่มีภาพปก ไม่มีภาพปก ไม่มีภาพปก ไม่มีภาพปก ไม่มีภาพปก ไม่มีภาพปก ไม่มีภาพปก
IT Enterprise IT Enterprise การศึกษาสถานภาพ และความต้องการในการพัฒนาผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์อาหารไทยเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน = studies on status and need in development of product and packaging of Thai food in order to enhance competitiveness capability / การศึกษาสถานภาพ และความต้องการในการพัฒนาผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์อาหารไทยเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน = studies on status and need in development of product and packaging of Thai food in order to enhance competitiveness capability / การศึกษาสถานภาพ และความต้องการในการพัฒนาผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์อาหารไทยเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน = studies on status and need in development of product and packaging of Thai food in order to enhance competitiveness capability / มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม 1/2551 = มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม 1/2551 =

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300