การพัฒนาเครื่องต้นแบบผลิตไบโอดีเซลจากกรดไขมันปาล์ม (PFAD) = development of biodiesel production prototype from palm fatty acid distilled / Yoothana Thanmangkol...[et al.]

ผู้แต่งร่วม: Attanatho, Lalita | Daychareug, Pattarin | Himachareon, Nattapol | Jenvanitpanjakul, Peesamai | Kunhanont, Thapparait | Petchtubtim, Kasamar | Sodha, Boonnanida | Sonthisawate, Thanita | Suemanotham, Amornrat | Thanmangkol, Yoothana | Thepkhun, Panida | Wongharn, Phichai | พิศมัย เจนวนิชปัญจกุล | เตชะฤกษ์, ภัทรินทร์ | พนิดา เทพขุน | กษมา เพชรทับทิม | โสดา, บุณณิดา | เทพฤทธิ์ กัณหานนท์ | ยุทธนา ฐานมงคล | พิชัย วงศ์หาญ | ธนิตา สนธิเศวต | อมรรัตน์ สื่อมโนธรรม | หิมะเจริญ, ณัฐพล | ลลิตา อัตนโถ | Thailand Institute of Scientific and Technological Research
Language: Thai ชื่อชุด: Res. Proj. no. 49-18, Sub Proj. no. 1 ; Rep. no. 1(Final report)ข้อมูลการพิมพ์: Bangkok : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 2008 รายละเอียดตัวเล่ม: ฌ, 88 p. : ill., tables ; 30 cm.ชื่อเรื่องอื่นๆ: การพัฒนาเครื่องต้นแบบผลิตไบโอดีเซลจากกรดไขมันปาล์ม (PFAD)หัวเรื่อง: Biodiesel | Cooking oil purification | Liquid fuels | Palm fatty acid distilled | Tranesterification | เชื้อเพลิงเหลว | เชื้อเพลิงไบโอดีเซล | กรดไขมันปาล์ม | น้ำมันปาล์มสารสนเทศออนไลน์: Click here to access cover | Click here to access full-text สาระสังเขป: A prototype for producing biodiesel from PEAD consisted of batch and continuous processes. The batch process was designed for esterification reaction and the continuous process was used for tranesterification process, glycerin separation, wash/evaporation and filtration processes. This biodiesel prototype consumed 7,773 kJ input energy (or only 22% of energy from biodiesel) to produce 1 liter of biodiesel (equivalent to 34,815 kJ heating value). The quality of biodiesel produced met the requirements of biodiesel standards issued by the Department of Energy Business, the Ministry of Energy. - Authors.สาระสังเขป: Palm Fatty Acid Distilled (PFAD) is a by-product from the cooking oil purifycation process. The inexpensive PFAD can be used as feedstock for biodiesel production. Generally due to its main constituents of 90% free fatty acid and triglyceride as the rest, biodiesel production from PEAD required a distinctive process with specific conditions.สาระสังเขป: The laboratory results revealed the 3-step process for biodiesel production from PFAD. The first and second steps were esterification reactions of methanol and PFAD via 3:1 and 10:1 ratios, respectively. Both steps required reaction temperature at 60 degree celsius and catalyst, sulfuric acid concentration of 3.5% by weight of PEAD in each step. Products obtained from the first two steps were kept for the next 12 hours to ensure completed acid-ester separation. The final step was performed at 60 degree celsius tranesterification reaction of methanol and triglyceride via 36:1 molar ratio with sodium hydroxide of 0.45% by weight of PEAD. The biodiesel produced was washed with warm water until pH became neutral, then separated and water removed.สาระสังเขป: เครื่องต้นแบบผลิตไบโอดีเซลจากกรดไขมันปาล์มประกอบด้วย 2 ส่วน คือ ส่วนที่ทำงานแบบกะ คือ ชุดทำปฏิกิริยาเอสเทอริฟิเคชัน และส่วนที่ทำงานแบบต่อเนื่อง คือ ชุดทำปฏิกิริยาทรานเอสเทอริฟิเคชัน, ระบบแยกกลีเซอรีน, ระบบล้างน้ำ, ระบบระเหยน้ำจากไบโอดีเซล และระบบกรองไบโอดีเซล โดยใช้พลังงาน 7,733 กิโลจูล ในการผลิตไบโอดีเซล 1 ลิตร, ซึ่งให้ค่าความร้อน 34,815 กิโลจูล หรือคิดเป็นร้อยละ 22 ของพลังงานที่ได้จากไบโอดีเซล. ไบโอดีเซลที่ผลิตได้จากเครื่องต้นแบบมีคุณสมบัติตามมาตรฐานกรมธุรกิจพลังงาน. - ผู้แต่ง.สาระสังเขป: กรดไขมันปาล์มเป็นผลผลิตพลอยได้ชนิดหนึ่งที่ได้จากกระบวนการกลั่นน้ำมันปาล์มบริสุทธิ์เพื่อการบริโภค และจัดได้ว่าเป็นวัตถุดิบอย่างหนึ่งที่สามารถนำมาผลิตเป็นไบโอดีเซลได้ เช่นเดียวกับน้ำมันปาล์มดิบ และมีราคาต่ำกว่า, แต่เนื่องจากองค์ประกอบส่วนใหญ่เป็นกรดไขมันอิสระร้อยละ 90 โดยประมาณ, ส่วนที่เหลือเป็นไตรกลีเซอร์ไรด์ ดังนั้นจึงต้องอาศัยกระบวนการผลิตที่แตกต่างไปจากวัตถุดิบน้ำมันพืชโดยทั่วไป, รวมทั้งสภาวะการผลิตไปโอดีเซลที่เหมาะสม.สาระสังเขป: จากการทดลองในระดับห้องปฏิบัติการ พบว่า กระบวนการผลิตไบโอดีเซลจากกรดไขมันปาล์มประกอบด้วยปฏิกิริยา 3 ขั้นตอน ได้แก่ ปฏิกิริยาเอสเทอริฟิเคชั่น 2 ครั้ง, โดยทำปฏิกิริยาระหว่างกรดไขมันปาล์มกับเมทานอล ที่อัตราส่วนโดยโมลของเมทานอลต่อกรดไขมันปาล์มเป็น 3:1 ในขั้นตอนแรก และ 10:1 ในขั้นตอนที่ 2 ใช้ตัวเร่งปฏิกิริยากรดซัลฟิวริก 3.5%, โดยน้ำหนักของกรดไขมันปาล์มทั้งสองขั้นตอน. จากนั้นปล่อยทิ้งไว้ประมาณ 12 ชั่วโมง เพื่อให้น้ำและกรดแแยกออกจากเอสเทอร์เต็มที่ และขั้นตอนสุดท้ายทำปฏิกิริยาทรานเอสเทอริฟิเคชั่น ที่อัตราส่วนโดยโมล ของเมทานอลต่อไตรกลีเซอไรด์เป็น 36:1, ตัวเร่งปฏิกิริยาโซเดียมไฮดรอกไซด์ 0.45%, โดยน้ำหนักของกรดไขมันปาล์ม และควบคุมอุณหภูมิในการทำปฏิกิริยาที่ 60 องศาเซลเซียส ทุกขั้นตอน. จากนั้นล้างไบโอดีเซลด้วยน้ำอุ่นจนไบโอดีเซลมีค่าความเป็นกรด-เบสเป็นกลางแล้วทำการกำจัดน้ำออก.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ชนิดของทรัพยากร Location Call number สถานะ Last seen Copy No. บาร์โค้ด
General Book
วว. เทคโนธานี
Checked out 2018-11-08 1 RP2008/1365
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 2 RP2008/1365-2
General Book
วว. เทคโนธานี
Checked out 2018-11-08 3 RP2008/1365-3
Browsing วว. เทคโนธานี shelves, Shelving location: วว. เทคโนธานี Close shelf browser
ไม่มีภาพปก ไม่มีภาพปก ไม่มีภาพปก ไม่มีภาพปก ไม่มีภาพปก ไม่มีภาพปก ไม่มีภาพปก
Research and development of economic mushroom : Sustainable development of housing for straw mushroom cultivation = การพัฒนาและวิจัยเห็ดเศรษฐกิจ : การวิจัยและพัฒนาโรงเรือนเพาะเห็ดฟางอย่างยั่งยืน / Research and development of economic mushroom : Sustainable development of housing for straw mushroom cultivation = การพัฒนาและวิจัยเห็ดเศรษฐกิจ : การวิจัยและพัฒนาโรงเรือนเพาะเห็ดฟางอย่างยั่งยืน / การพัฒนาเครื่องต้นแบบผลิตไบโอดีเซลจากกรดไขมันปาล์ม (PFAD) = development of biodiesel production prototype from palm fatty acid distilled / การพัฒนาเครื่องต้นแบบผลิตไบโอดีเซลจากกรดไขมันปาล์ม (PFAD) = development of biodiesel production prototype from palm fatty acid distilled / การพัฒนาเครื่องต้นแบบผลิตไบโอดีเซลจากกรดไขมันปาล์ม (PFAD) = development of biodiesel production prototype from palm fatty acid distilled / การจำแนกพันธุ์พืชสมุนไพรที่หายากและใกล้สูญพันธุ์โดยสัณฐานวิทยา = identification on morphology of rare and endangered species of Thai medicinal plants / การจำแนกพันธุ์พืชสมุนไพรที่หายากและใกล้สูญพันธุ์โดยสัณฐานวิทยา = identification on morphology of rare and endangered species of Thai medicinal plants /

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300