อิทธิพลของเชื้อไรโซเบียมสายพันธุ์พื้นเมืองต่อการเพิ่มผลผลิตของถั่วเหลืองพันธุ์ สจ. 2 ที่ปลูกในดินชุดต่างๆ กัน = the effectiveness of local strain of Rhizobium on "SJ.2" soybean grown in various soil series / Srivan Chomchalow

โดย: Chomchalow, Srivan
ผู้แต่งร่วม: ศรีวรรณ โฉมเฉลา | Thailand Institute of Scientific and Technological Research
Language: Thai ชื่อชุด: Res. Prmme. no. 44, Res. Proj. no. 44/3 ; Rep. no. 8ข้อมูลการพิมพ์: Bangkok : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 1975 รายละเอียดตัวเล่ม: 6 p.ชื่อเรื่องอื่นๆ: อิทธิพลของเชื้อไรโซเบียมสายพันธุ์พื้นเมืองต่อการเพิ่มผลผลิตของถั่วเหลืองพันธุ์ สจ. 2 ที่ปลูกในดินชุดต่างๆ กันหัวเรื่อง: Rhizobiaceae | Rhizobium | Soils | Soybeanสารสนเทศออนไลน์: Click here to access full-text สาระสังเขป: A pot experiment was conducted at ASRCT using Yasothorn, Korat and Nam Pong soil series in order to study the effectiveness of a locally isolated strain of Rhizobium on the growth of SJ.2 soybean. Among the data collected were dry weight per plant, number of nodules per plant, weight of 100 seeds, number of pod per plant, number of seed per plant and total weight of seed. It was found that inoculation treatments in all three soil series significantly outyielded the uninoculated treatments. It was also noted that inoculation of Yasothorn soil series significantly produced the highest dry weight of 100 seeds. It is anticipated that the employment of proper strain of Rhizobium inoculum would increase the yield of soybean, and the use of proper strain on specific soil series would improve the quality to seed obtained Authorสาระสังเขป: ได้ทำการทดลองปลูกถั่วเหลืองพันธุ์ สจ.2 ในกระถาง โดยใช้ดินชุดยโสธร, โคราช, และน้ำพอง, ร่วมกับการคลุกและไม่คลุกเมล็ดเชื้อไรโซเบียมสายพันธุ์พื้นเมืองก่อนปลูก; เพื่อที่จะหาความแตกต่างของผลผลิตของกรรมวิธีต่าง ๆ. ได้บันทึกผลการทดลองเฉพาะน้ำหนักแห้งต่อต้น, จำนวนปมต่อต้น, น้ำหนักต่อ 100 เมล็ด, จำนวนฝักต่อต้น, จำนวนเมล็ดต่อต้น และน้ำหนักเมล็ดทั้งหมด. ผลการทดลองปรากฏว่า, การปลูกในดินทั้ง 3 ชุดร่วมกับการคลุกเชื้อฯ ทำให้ผลผลิตด้านต่าง ๆ แตกต่างกว่าการไม่คลุกเชื้อฯ, กล่าวคือ, การคลุกเชื้อฯ ทำให้น้ำหนักแห้ง, จำนวนปม, น้ำหนักต่อ 100 เมล็ดและน้ำหนักเมล็ดทั้งหมด สูงกว่าการไม่คลุกเชื้อฯ ก่อนปลูก อย่างมีนัยสำคัญยิ่งทางสถิติ. เป็นที่น่าสังเกตว่า, การปลูกในดินยโสธรร่วมกับการคลุกเชื้อฯ ทำให้น้ำหนักต่อ 100 เมล็ดสูงสุด และแตกต่างจากการปลูกในดินชุดอื่น ๆ, คือ ชุดโคราช และน้ำพอง อย่างมีนัยสำคัญยิ่งทางสถิติ. แสดงให้เห็นว่า, การใช้เชื้อไรโซเบียมในการปลูกถั่วเหลืองนั้น ช่วยทำให้ผลผลิตเมล็ดเพิ่มขึ้น; และการใช้สายพันธุ์ให้เหมาะสมกับสภาพของดิน จะทำให้เมล็ดมีคุณภาพดีขึ้นด้วย.- ผู้แต่ง.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ชนิดของทรัพยากร Location Call number สถานะ Last seen Copy No. บาร์โค้ด
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 1 RP1975/428
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 2 RP1975/428-2

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300