โครงการพัฒนากรรมวิธีผลิต Stevioside จากหญ้าหวานขั้นกึ่งอุตสาหกรรม: การศึกษาผลของสตีวิโอไซด์ (Stevioside) ที่มีต่อตัวอ่อนในหนูแรท = Teratogenic studies on stevioside in rats / Jakkrapong Limpanussorn...[et al.] (CONFIDENTIAL)

ผู้แต่งร่วม: Attatippaholkun, Montree | Banchonglikitkul, Chuleratana | Limpanussorn, Jakkrapong | Mungkornkarn , Pisut | Sematong, Tuanta | Soontornsaratune, Pattama | Wasuwat, Sasithorn | เตือนตา เสมาทอง | มังกรกาญจน์, พิสุทธิ์ | ลิขิตกุล, ชุลีรัตน์ | จักรพงษ์ ลิมปนุสสรณ์ | ศศิธร วสุวัต | ปัทมา สุนทรศารทูล | มนตรี อัตถทิพพหลคุณ | Thailand Institute of Scientific and Technological Research
Language: Thai ชื่อชุด: Class. Invest. no. 30-01ข้อมูลการพิมพ์: Bangkok : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 1988 รายละเอียดตัวเล่ม: 30 p.ชื่อเรื่องอื่นๆ: โครงการพัฒนากรรมวิธีผลิต Stevioside จากหญ้าหวานขั้นกึ่งอุตสาหกรรม: การศึกษาผลของสตีวิโอไซด์ (Stevioside) ที่มีต่อตัวอ่อนในหนูแรท | การศึกษาผลของสตีวิโอไซด์ (Stevioside) ที่มีต่อตัวอ่อนในหนูแรทหัวเรื่อง: Compositae | Rats | Stevia rebaudiana | Stevioside | Teratogenic studies | หญ้าหวานสาระสังเขป: Teratogenic studies on stevioside in rats was made as described by Fritz 1968. Stevioside, a sweet principle of Stevia rebaudina Bertoni (Compositae), was administered orally to Wistar rats with the concentration of 0,2, 2.0, and 4.0 g/kg body weight/day during the days 6-15 of gestation. All pregnant rats were sacrificed on day 20 of gestation. Their fetuses were examined for gross abnormalities and skeletal deferts. Stevioside did not affect the letter size and normal development in the rats. In addition, no behavioral effects were observed either in the normal delivery offsprings when treated at the same doses.สาระสังเขป: การศึกษาผลของสตีวีโอไซต์ที่มีต่อตัวอ่อนในหนูแรืโดยดัดแปลงวิธีของ Fritz 1968. หนูแรืพันธุ์ Wistar ได้รับสตีวีโอไซด์ทางปากที่สกัดจากหญ้าหวาน (Stevia rebaudina Bertoni) โดยกรรมวิธีของสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วท.) ในขนาด 0.2, 2.0 และ 4.0 กรัม/กิโลกรัมน้ำหนักตัว/วัน ในระหว่างวันที่ 6-15 ของการตั้งท้องและทำการผ่าท้องออกในวันที่ 20 ของการตั้งท้อง. พบว่าจำนวนลูกต่อครอก, การเจริญเติบโต, ความปกติของภายนอกและภายในร่างกาย ตลอดจนโครงกระดูกของลูกหนูไม่แตกต่างจากหนูในกลุ่มควบคุม. ส่วนลูกหนูในกลุ่มที่คลอดตามปกติจากแม่หนูที่ได้รับสตีวิโอไซต์ในขนาดดังกล่าว มีจำนวนลูกและมีชีวิตรอดเฉลี่ยต่อครอก, การเจริญเติบโต, อาการทางประสาท, พฤติกรรมต่าง ๆ, อวัยวะภายนอกและภายในร่างกายปกติเช่นกัน เมื่อเทียบกับหนูในกลุ่มควบคุม.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ไม่มีรายการทางกายภาพสำหรับระเบียนนี้

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300