โครงการศึกษาและวิจัยสารเร่งปฏิกิริยาเพื่อใช้ในกระบวนการผลิตไบโอดีเซล = study and research on catalyst in biodiesel production / Lalita Attanatho, Panida Siribangkeadpol and Peesamai Jenvanitpanjakul

โดย: Attanatho, Lalita
ผู้แต่งร่วม: Jenvanitpanjakul, Peesamai | Siribangkeadpol, Panida | พิศมัย เจนวนิชปัญจกุล | พนิดา ศิริบังเกิดผล | ลลิตา อัตนโถ | Thailand Institute of Scientific and Technological Research
Language: Thai ชื่อชุด: Res. Proj. no. 46-12, Sub. Proj. no.2 ; Rep. no. 1 (Final Report)ข้อมูลการพิมพ์: Bangkok : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 2005 รายละเอียดตัวเล่ม: ง, 40 p.: col. ill., tables ; 30 cm.ชื่อเรื่องอื่นๆ: โครงการศึกษาและวิจัยสารเร่งปฏิกิริยาเพื่อใช้ในกระบวนการผลิตไบโอดีเซลหัวเรื่อง: Biodiesel | Catalysts | Coconut oil | Lime | Oils and fats | Potassium carbonate | Potassium hydrogen sulfate | Sodium hydrogen sulfate | Tranesterification | Zinc carbonate | แคลเซียมออกไซด์ | โซเดียมไฮโดรเจนซัลเฟต | โพแทสเซียมไฮโดรเจนซัลเฟต | โพแทสเซียมคาร์บอเนต | ไบโอดีเซล | ซิงค์คาร์บอเนต | ทรานสเอสเทอริฟเคชัน | น้ำมันมะพร้าว | สารเร่งปฏิกิริยาสารสนเทศออนไลน์: Click here to access full-text สาระสังเขป: Nowadays, the commercial biodiesel industry normally uses sodium hydroxide as a base homogeneous catalyst for transesterification of vegetable oit or animal fat with an alcohol, because of its reasonable price. The complicated and cost consuming purification process is needed in order to remove the homogeneous catalyst from the biodiesel product.สาระสังเขป: The factorial design and response surface methodology was applied to optimize the biodiesel production process using calcium oxide as a heterogeneous catalyst. The optimum condition was found to be 60 C, 12:1 molar ratio of methanol to crude coconut oil, 6-8.6% by oil weight of the catalyst, which yielded methyl ester with higher than 96.5% in purity. - Authors.สาระสังเขป: The purpose of this study is to examine the heterogenous catalyst for producing biodiesel from crude coconut oil. The results showed that potassium carbonate, calcium oxide, sodium hydrogen sulfate, potassium hydrogen sulfate and zinc carbonate could be used as the catalyst for transesterification reaction at 60 C. However, potassium carbonate, which yielded highest biodiesel purity, was completely dissolved in the reaction the reaction mixture. Thus, calcium oxide was selected as the most potential heterogeneous catalyst for biodiesel production.สาระสังเขป: กระบวนการทรานเอสเทอริฟิเคชันเป็นกระบวนการผลิตเอสเทอร์ของกรดไขมัน โดยเป็นปฏิกิริยาระหว่างน้ำมันพืชกับแอลกอฮอล์ และมีกรดหรือเบสเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา ในการใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาแบบเอกพันธ์ เช่น โซเดียมไฮดรอกไซด์ ซึ่งเป็นตัวเร่งปฏิกิริยาที่ได้รับความนิยม เนื่องจากให้ผลได้ของผลิตภัณฑ์สูง แต่จะยุ่งยากในขั้นตอนของการแยกเอาตัวเร่งปฏิกิริยาออกเมื่อปฏิกิริยาเสร็จสิ้น ซึ่งเป็นการเพิ่มขั้นตอนและการลงทุน.สาระสังเขป: การศึกษานี้มุ่งเน้นที่การศึกษาผลของการใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาชนิดวิวิธพันธ์ในกระบวนการทรานเอสเทอริฟิเคชั่นของน้ำมันมะพร้าว จากการศึกษาในเบื้องต้นพบว่าตัวเร่งปฏิกิริยาชนิดวิวิธพันธ์ ดังต่อไปนี้ คือ โพแทสเซียมคาร์บอเนต, แคลเซียมออกไซด์, โซเดียมไฮโดรเจนซัลเฟต, โพแทสเซียมไฮโดรเจนซัลเฟต และซิงค์คาร์บอเนต มีความสามารถในการเป็นตัวเร่งปฏิกิริยาของปฏิกิริยาทรานเอสเทอริฟิเคชั่น โดยที่โพแทสเซียมคาร์บอเนต และแคลเซียมออกไซด์ มีความสามารถในการเป็นตัวเร่งปฏิกิริยาสูง แต่โพแทสเซียมคาร์บอเนตละลายได้ดีในของผสมที่ทำปฏิกิริยา ในการศึกษาเพื่อหาสภาวะที่เหมาะสมจึงเลือกใช้แคลเซียมออกไซด์ ที่สภาวะอุณหภูมิ 60 องศาเซลเซียส แคลเซียมออกไซด์มีความเหมาะสมในการเป็นตัวเร่งปฏิกิริยาแบบวิวิธพันธ์มากที่สุด โดยให้ผลผลิตไบโอดีเซลที่มีความบริสุทธิ์ในรูปเมทิลเอสเทอร์ร้อยละ 92.83 โดยน้ำหนัก.สาระสังเขป: การศึกษาสภาวะที่เหมาะสมในการใช้แคลเซียมออกไซด์เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาพบว่าที่อุณหภูมิ 60 องศาเซลเซียส อัตราส่วนโดยโมลของเมทานอลต่อน้ำมันมะพร้าวดิบ 12:1 และปริมาณตัวเร่งปฏิกิริยาร้อยละ 6-8.6 โดยน้ำหนักของน้ำมันพืช จะให้ไบโอดีเซลหรือเมทิลเอสเตอร์ที่มีความบริสุทธิ์มากกว่าร้อยละ 96.5 โดยน้ำหนัก. - ผู้แต่ง.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ชนิดของทรัพยากร Location Call number สถานะ Last seen Copy No. บาร์โค้ด
General Book
วว. เทคโนธานี
Checked out 2018-11-08 1 RP2005/1294
General Book
วว. เทคโนธานี
Checked out 2018-11-08 2 RP2005/1294-2

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300