โครงการวิจัยและพัฒนาชุมชนปฎิรูปที่ดินคลองม่วง จังหวัดสระบุรี : อิทธิพลของระยะปลูกและความสูงในการตัดต่อผลผลิตน้ำหนักแห้งของใบกระถินพันธุ์คันนิงแฮม (Leucaena leucocephala cv. Cunningham) = research and technology for rural development in Klong Muang land reform area : effect of spacing and cutting height on leafs yield of Leucaena (Leucaena leucocephala cv. Cunningham) / Samard Chitnawasarn, Soonthorn Duriyaprapan

โดย: Chitnawasarn, Samard
ผู้แต่งร่วม: Duriyaprapan, Soonthorn | สามารถ จิตนาวสาร | สุนทร ดุริยะประพันธ์ | Thailand Institute of Scientific and Technological Research Agro-Technology Department Agricultural Technology Lab
Language: Thai ชื่อชุด: Res. Proj. no. 26-25 Rep. no. 6ข้อมูลการพิมพ์: Bangkok : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 1988 รายละเอียดตัวเล่ม: 11 p.ชื่อเรื่องอื่นๆ: Effect of spacing and cutting height on leafs yield of Leucaena (Leucaena leucocephala cv. Cunningham) | โครงการวิจัยและพัฒนาชุมชนปฎิรูปที่ดินคลองม่วง จังหวัดสระบุรี | อิทธิพลของระยะปลูกและความสูงในการตัดต่อผลผลิตน้ำหนักแห้งของใบกระถินพันธุ์คันนิงแฮม (Leucaena leucocephala cv. Cunningham)หัวเรื่อง: Cropping systems | Foliage | Leucaena leucocephala | Saraburi | Spacingสารสนเทศออนไลน์: Click here to access full-text สาระสังเขป: Study on foliage production of Krathin or leucaena (Leucaena leucocephala cv. Cunningham) in response to 2 cutting heights and 3 plant spacings was carried out in farmer's plot, Muak Lek District, Saraburi Province in 1984-1985. Cutting height of 1.0 m produced significantly higher leaf dry matter than 0.5 m whereas no significant leaf production was found between 0.05, 0.25 and 0.45 m plant spacings. Leaf production tended to decrease in later harvests. Further study in crop management as well as economic analysis in leucaena leaf production are necessary in order to sustain crop productivity and determination of future commercial cultivation of leucaena for animal feed. Authorsสาระสังเขป: ได้ศึกษาอิทธิพลของระยะปลูกและความสูงในการตัดต่อผลผลิตน้ำหนักแห้งของใบกระถินพันธุ์คันนิงแฮม, ในแปลงเกษตรกร ที่ ต.ลำพญากลาง, อ.มวกเหล็ก, จ.สระบุรี ในปี พ.ศ. 2527-28. การศึกษาพบว่าการตัดที่ระดับความสูง 1.00 ม. ให้ผลผลิตสูงกว่าการตัดที่ระดับ 0.50 ม. ในทุกระยะปลูก และในการตัดทุกครั้ง. การใช้ระยะปลูก 0.05, 0.25 และ 0.45 ม. ให้ผลผลิตไม่มีความแตกต่างทางสถิติ. ผลผลิตรวมในแต่ละครั้งมีแนวโน้มลดลงในการตัดครั้งหลัง ๆ. การศึกษาด้านการจัดการด้านการเก็บเกี่ยว และดูแลรักษาที่เหมาะสมน่าจะเป็นแนวทางหนึ่งในการเพิ่มผลผลิตต่อหน่วยพื้นที่. การศึกษาด้านการลงทุนและผลตอบแทนเป็นสิ่งจำเป็นก่อนที่จะส่งเสริมให้เกษตรกรปลูกเป็นการค้าในอนาคต. - ผู้แต่ง.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ชนิดของทรัพยากร Location Call number สถานะ Last seen Copy No. บาร์โค้ด
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 1 RP1988/780
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 2 RP1988/780-2

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300