โครงการวิจัยและพัฒนาชุมชนปฎิรูปที่ดินคลองม่วง จังหวัดสระบุรี : การพัฒนาและส่งเสริมอาชีพการเลี้ยงโคนมในเขตปฎิรูปที่ดินคลองม่วง = research and technology for rural development in Khlong Muang land reform area : development and promotion of dairy farming in Khlong Muang land reform area / Soonthorn Duriyaprapan, Samard Chitnawasarn

โดย: Duriyaprapan, Soonthorn
ผู้แต่งร่วม: Chitnawasarn, Samard | สามารถ จิตนาวสาร | สุนทร ดุริยะประพันธ์ | Thailand Institute of Scientific and Technological Research Agro-Technology Department Agricultural Technology Lab
Language: Thai ชื่อชุด: Res. Proj. no. 26-25 Rep. no. 7ข้อมูลการพิมพ์: Bangkok : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 1988 รายละเอียดตัวเล่ม: 13 p.ชื่อเรื่องอื่นๆ: Development and promotion of dairy farming in Khlong Muang land reform area | โครงการวิจัยและพัฒนาชุมชนปฎิรูปที่ดินคลองม่วง จังหวัดสระบุรี | การพัฒนาและส่งเสริมอาชีพการเลี้ยงโคนมในเขตปฎิรูปที่ดินคลองม่วงหัวเรื่อง: Dairy farming | Khlong Muang Land Reform | Saraburiสารสนเทศออนไลน์: Click here to access full-text สาระสังเขป: Dairy farming promotion in khlong Muang Land Reform Area, Saraburi Province was carried out during October 1983 to September 1986 by six organizations, namely Saraburi Provincial Office, Office of Agricultural Land Reform, Thailand Dairy Farming Promotion Organization, Swita Foundation, Bangkok Bank Limited and Thailand Institute of Scientific and Technological Research. 420 head of New Zealand borned Holstein-Sahival crossbred cows were allocated to 82 selected families. The number varied from 4-6 head/family depending on farm size in terms of tillable area and labor availability. Initial investment was loaned by Bangkok Bank Limited and must be paid back with interest to the Bank within 10 years. An evaluation carried out at the end of 1986 showed that inadequate forage production problem remained throughout promotion period and tends to be intensified in the future due to the increase in number of dairy cows in which 477 newborn cows were already recorded within the first 3-year period. However, dairy farming proved to be a success, providing main source of income to families involved with average minimum and maximum monthly income of 7,017 and 19,573 baht in late 1986. Authorsสาระสังเขป: จังหวัดสระบุรี, สำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม, องค์การส่งเสริมกิจการโคนมแห่งประเทศไทย, มูลนิธิสวิตา, ธนาคารกรุงเทพ จำกัด และสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย ได้ร่วมมือทำการส่งเสริมอาชีพการเลี้ยงโคนมให้แก่เกษตรกรจำนวน 82 ราย ในเขตชุมชนปฏิรูปที่ดินคลองม่วง, จังหวัดสระบุรี. ช่วงเวลาการปฏิบัติงาน เริ่มตั้งแต่ปีงบประมาณ 2527 จนสิ้นสุดงบประมาณ 2529, โดยสั่งซื้อโคนมลูกผสมขาวดำชาฮิวาล จำนวน 420 ตัว จากประเทศนิวซีแลนด์มาจำหน่ายให้แก่เกษตรกรในราคาต้นทุน รายละ 4-6 ตัว ขึ้นอยู่กับขนาดของพื้นที่ถือครองและแรงงานในครอบครัว. การประเมินผลการปฏิบัติงานเมื่อสิ้นสุดปี 2529 พบว่า การขาดแคลนหญ้าอาหารสัตว์เป็นปัญหาที่ต่อเนื่องมาตั้งแต่เริ่มโครงการ และมีแนวโน้มจะทวีความรุนแรงอันเนื่องมาจากการเพิ่มขึ้นของโคนมในโครงการ ซึ่งมีลูกโคนมตัวเมียเกิดเพิ่มขึ้นถึง 477 ตัว ในระยะ 3 ปีแรก. การดำเนินงานตามโครงการนี้นับได้ว่าประสบผลสำเร็จตามเป้าหมาย. เกษตรกรสามารถยึดถือการเลี้ยงโคนมเป็นอาชีพหลักได้, รายได้จากการขายน้ำนมของเกษตรในช่วงปลายปี 2529 มีค่าเฉลี่ยตั้งแต่ 7,017 บาท ถึ 19,573 บาท/เดือน. - ผู้แต่ง
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ชนิดของทรัพยากร Location Call number สถานะ Last seen Copy No. บาร์โค้ด
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 1 RP1988/781
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 2 RP1988/781-2

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300