โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์จากของเหลือใช้ในอุตสาหกรรมปลากระป๋อง ตามแผนปรับโครงสร้างอุตสาหกรรม = products development from waste of fishery canning industry / Sumalai Srikumlaithong...[et al.]

ผู้แต่งร่วม: Chanpongsri, Surapong | Sassanarakkit, Suriya | Srikumlaithong, Sumalai | Thepnui, Petcharat | Trangwacharakul, Srisak | เพชรรัตน์ เทพนุ้ย | สุรพงษ์ จันทร์ผ่องศรี | ศรีศักดิ์ ตรังวัชรกุล | สุมาลัย ศรีกำไลทอง | สุริยา สาสนรักกิจ | Thailand Institute of Scientific and Technological Research
Language: Thai ชื่อชุด: Class. Invest. no. 44-09 (Final Report) (CONFIDENTIAL)ข้อมูลการพิมพ์: Bangkok : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 2004 รายละเอียดตัวเล่ม: 81 p.: ill. (some col.) ; 30 cm.ชื่อเรื่องอื่นๆ: โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์จากของเหลือใช้ในอุตสาหกรรมปลากระป๋อง ตามแผนปรับโครงสร้างอุตสาหกรรม ระยะที่ 2หัวเรื่อง: Feeds | Fertilizers | Fish canning industry | Fish extract | Fish hydrolysate | Fish soup | Waste utilizationสารสนเทศออนไลน์: Click here to access cover สาระสังเขป: Thailand Institute of Scientific and Technological Research (TISTR) has conducted research and development on value added products from waste of fishery canning industry in Thailand. This project was supported by the Department of Industrial Economic under phase II of Industrial Restructure Plan which aimed to develop value added products from waste of fishery canning industry. Either of the waste are fish boiling water of tuna canning industry and the other part was kidney, lung and the entrails from tuna in the processing line.สาระสังเขป: The first product was prepared by digesting fish boiling water with alcalase enzyme to obtain a hydrolysated solution. This hydrolysated solution was filtered and evaporated to yield concentrated fish extract which was rich in essential amino acids. When it was diluted with some Chinese herb, this solution will be a ready-to-drink fish soup, by or the fish soup may be processed by adjusting the hydrolysate concentrated fish extract was adjusted to 8obrix, followed by mixing with Chinese herb extract. Then this mixed juice was filled in glass bottles and sterilized it to get rid of the microorganism in the products. The second and the third value added products from the entrails of tuna canning industry were foliar fertilizer and the shrimp supplement feed. The foliar fertilizer was obtained from digesting entrails raw material by 0.5% hydrochloric acid at 100oC to obtain 1.05 gm/100 ml amino acid. The digested solution was mixed with essential plant elements for example urea, Na2H2PO4, Ca(NO3)2.4H2O, H3BO4, Mg3O4 etc. The final product was foliar fertilizer from the tunas’entrails. But if those raw materials were digested by 0.5% bromelane enzyme and Lactobacillus brevis bacteria to get an amino acid. These amino acid from two sources were then blended with conventional shrimp food at 12.5 and 25.0% ratio. When feed the shrimps with the developed amino acid shrimp supplement feed, the result shows that maximum specific growth of shrimp are 0.0409 gm/day which is greater than control about 72.5%.สาระสังเขป: To conclude the seeding technology of value added products from waste of tuna canning industry, there were 15 interested companies/personals to transfer technology from TISTR. That was Three companies/personals were purposed to sign the MOU/contraction project with TISTR. After the completeness of this project, the patent topic “The Production of Concentrated and Ready-to-Drink Fish Extracts from Boiling Water of Tuna Canning” was applied for patent at the Intellectual Property Department. –Authors.Review: ในการวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์จากของเหลือทิ้งส่วนแรก วว. ดำเนินการโดยการนำน้ำนึ่งปลาผ่านกระบวนการหมักด้วยเอนไซม์อัลคาเลส แล้วผ่านกระบวนการกรอง และการระเหยให้เข้มข้น เพื่อเป็นซุปปลาสกัดเข้มข้น เมื่อทำการเจือจางด้วยน้ำสมุนไพร ซึ่งประกอบด้วย ปักคี้, ตังซิม ตังกุย, ฮ่วยซัว และเก๋ากี้ จะได้น้ำนึ่งปลาพร้อมดื่ม หรือนำน้ำนึ่งปลาที่ผ่านกระบวนการหมักด้วยเอนไซม์อัลคาเลสกรองให้ใส ปรับความเข้มข้นเพียงเล็กน้อย นำซุปปลาใสที่ได้มาผสมน้ำสมุนไพรตามอัตราส่วน นำไปบรรจุและผ่านกระบวนการฆ่าเชื้อจะได้ซุปปลาสกัดพร้อมดื่มที่มีคุณค่าทางกรดอะมิโนแอซิดหลายชนิดที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย และผลิตภัณฑ์ซุปปลาสกัดพร้อมดื่มปลอดจากการปนเปื้อนของจุลินทรีย์เป็นโทษต่อร่างกายของผู้บริโภค.Review: ในส่วนของเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมปลาทูน่ากระป๋อง วว. ได้ดำเนินการวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ คือ อาหารกุ้งวัยอ่อน และปุ๋ยทางใบ โดยการนำพุงปลาสดมาบด และย่อยสลายด้วยกรดเกลือ 0.5%, ภายใต้อุณหภูมิ 100oซ. จะได้กรดอะมิโน 1.05 กรัม/100 มล. เมื่อนำไปผสมกับสารธาตุอาหารพืช เช่น ยูเรีย, NaH2PO4, Ca(NO3)2 4H2O, H3BO4 และ Mg3O4 ก็จะได้ปุ๋ยทางใบ ส่งเสริมให้การเจริญเติบโตจำเพาะของกุ้งสูงสุด 0.0409 กรัม/วัน ซึ่งสูงกว่าน้ำหนักชุดควบคุม 72.5%.Review: นอกเหนือจากการวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ดังกล่าวจากของเหลือใช้แล้ว วว. ยังได้ดำเนินการศึกษาทางด้านการตลาดของผลิตภัณฑ์จากการแปรรูปของเหลือทิ้ง การศึกษาการประเมินผลทางเทคนิคและการวิเคราะห์ด้านการเงินการลงทุนของซุปปลาสกัดพร้อมดื่มและปุ๋ยทางใบ, ซึ่ง ปรากกฏผลในการประเมินการผลิตซุปปลาสกัดพร้อมดื่มที่อัตรา 4.8 ล้านขวดต่อปี ต้องใช้เงินลงทุนในการผลิตซุปปลาสกัดประมาณ 50 ล้านบาท มีต้นทุนการผลิตต่อขวด 30.52 บาท/ขวด, ซึ่งราคาขายส่งหน้าโรงงาน 35 บาท/ขวด สามารถให้ผลตอบแทนเฉลี่ย 23.80% ระยะเวลาคืนทุน 3.65 ปี. สำหรับกรณีผู้ที่ลงทุนระดมทุนเองโดยไม่กู้เงิน และกรณีที่ผู้ลงทุนกู้เงิน 50% จะได้รับผลตอบแทนเฉลี่ย 32.90%, ระยะเวลาคืนทุน 3.29 ปี. ส่วนปุ๋ยทางใบถ้าสร้างโรงงานขนาด 270,000 ขวด/ปี ใช้เงินลงทุน 14.99 ล้านบาท จะมีต้นทุนการผลิต 100.26 บาท/ขวด เมื่อตั้งราคาขายหน้าโรงงาน 120 บาท/ขวด. โครงการนี้จะให้ผลตอบแทนภายในของโครงการ 30.89% ณ ระดับอัตราส่วนลด 8% และมีระยะเวลาคืนทุน 3.59 ปี. นอกจากนั้นยังได้ดำเนินการบ่มเพาะเทคโนโลยีการแปรรูปของเหลือทิ้งจากโรงงาน อุตสาหกรรมปลากระป๋องจำนวน 15 ราย และได้ทำสัญญาบันทึกข้อตกลง/ข้อเสนอโครงการ และการออกแบบกระบวนการผลิตให้กับบริษัทที่รับเทคโนโลยี จำนวน 3 บริษัท รวมทั้งมีการนำผลงานวิจัยเพื่อจดสิทธิ์บัตรอีกจำนวน 1 คำขอ เรื่องการผลิตซุปปลาสกัดพร้อมดื่มจากน้ำนึ่งปลาของอุตสาหกรรมปลาทูน่ากระป๋อง. -ผู้แต่ง.Review: สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.) ดำเนินโครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์จากของเหลือใช้ในอุตสาหกรรมปลากระป๋อง ด้วยงบประมาณการสนับสนุนจากสำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรมภายใต้แผนปรับโครงสร้างอุตสาหกรรมระยะที่ 2 เพื่อให้มีการนำของเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมปลากระป๋องแปรรูปเพื่อเพิ่มมูลค่า โดยทำการวิจัยของเหลือทิ้งสองส่วน ส่วนแรก คือ น้ำนึ่งปลาจากอุตสาหกรรมปลาทูน่ากระป๋อง ส่วนที่สอง คือ ตับ, ไต, ไส้ และพุงปลา.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ไม่มีรายการทางกายภาพสำหรับระเบียนนี้

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300