เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวและระบบประกันคุณภาพลำไยสดเพื่อการส่งออก = postharvest technology and quality assurances system of longan for export / Sing Ching Tongdee...[et al.]

ผู้แต่งร่วม: Chaimongkol, Somsak | Chaivipha, Namphet | Jamjumroon, Manat | Neamprem, Sodsri | Pattanavibul, Siriphong | Ratanachai, Yuwadee | Sartpech, Chitta | Srisuriyawong, Samphan | Suwanagul, Anawat | Tongdee, Sing Ching | สดศรี เนียมเปรม | มนัส แจ่มจำรูญ | สมศักดิ์ ชัยมงคล | น้ำเพชร ชัยวิภา | ซิง ชิง ทองดี | ศิริพงษ์ พัฒนวิบูลย์ | ยุวดี รัตนไชย | สัมพันธ์ ศรีสุริยวงษ์ | จิตตา สาตร์เพ็ชร์ | อนวัช สุวรรณกุล | Thailand Institute of Scientific and Technological Research Food Technology
Language: English ชื่อชุด: Grant (I) Res. Proj. no. 38-01ข้อมูลการพิมพ์: Bangkok : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 1998 รายละเอียดตัวเล่ม: 102 p.ชื่อเรื่องอื่นๆ: เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวและระบบประกันคุณภาพลำไยสดเพื่อการส่งออกหัวเรื่อง: Export | Fumigation | Longan | Postharvest technology | Quality assurance system | Sulfur dioxideสารสนเทศออนไลน์: Click here to access full-text สาระสังเขป: Guidelines on good fumigation practice have been laid down. In order to provide consumer understanding and assurance of the fumigation processes, the diagnostic and preventive concept of the HACCP system was used and has proved to be valid and verifiable. It also included the design of HACCP proper monitoring procedures at critical steps. Authors.สาระสังเขป: Laboratory experiments were carried out at the Postharvest Technology Laboratory (now the Agricultural Technology Laboratory). Technology transfer involved a scale-up for commercial operation and good fumigation guidelines, which were developed with the participation of the 30 plus members of "Longan for Export Quality Assurance Club" whose packing houses concentrated in Chiang Mai and Lamphun areas.สาระสังเขป: One of the main functions of SO fumigation is the control of postharvest fruit rot and browning of fresh longan and lychee. Fruits fumigated with SO have extended shelf-life of 4 to 6 weeks at 0 degree celsius and also allowed for a manageable release of fruit onto the market at ambient temperature of 25 degree to 30 degree celsius for 2 to 3 days. Technology transfer was a vital part of the project. Development work in the project involved a scale-up from laboratory experiments to commercial operation. An average commercial facility has about 2 to 3 rooms, each with fumigation capapcity of about 4 tons per room and 400 tons per season. TISTR organized more than 500 man-day of intensive nationwide training activities relating to both technical and non-technical issues of longan export and SO fumigation.สาระสังเขป: Regarding SO residue issues, TISTR has been working closely with the Ministry of Commerce and the Ministry of Industry. Thailand is seeking for Codex Food Additives Committee's acceptance and approval in establishing a tolerance action level of 10 ug/g in the aril.สาระสังเขป: Sulfur dioxide fumigation technology contributes significantly to the success of fresh longan export. It is a major breakthrough achieved under a research and development project on postharvest technology of longan over a period of 14 years, starting from 1984 to 1998. The project was conducted at Thailand Institute of Scientific and Technological Research (TISTR) with financial support from the Australian Centre for International Agricultural Research, Australia, and the Thailand Research Fund.สาระสังเขป: การรมควันด้วยซัลเฟอร์ไดออกไซด์เป็นวิธีการอย่างหนึ่งหลังการเก็บเกี่ยวเพื่อควบคุมการเน่าเสียและการเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลของเปลือกผลลำไยและลิ้นจี่. เมื่อผลการวิจัยและทดลองประสบความสำเร็จในระดับห้องปฏิบัติการ วท. จึงพัฒนาการดำเนินงานไปสู่เชิงพาณิชย์, โดยร่วมกับสมาชิกในชมรมพัฒนาคุณภาพลำไยเพื่อการส่งออก จำนวนมากกว่า 30 บริษัท ในจังหวัดเชียงใหม่และลำพูน. ผลลำไยที่ได้ผ่านการรมควันด้วยซัลเฟอร์ไดออกไซด์จะสามารถยืดอายุการเน่าเสียได้นานประมาณ 4-6 สัปดาห์ ที่ 0o ซ. และมีอายุการวางจำหน่ายในตลาดได้นาน 2-3 วัน ในระดับอุณหภูมิปกติที่ 25o -30o ซ. การถ่ายทอดเทคโนโลยีนับได้ว่าเป็นส่วนหนึ่งที่สำคัญของโครงการซึ่งเน้นการพัฒนาในเรื่องของการขยายขนาดการดำเนินการจากระดับห้องปฏิบัติการสู่การปฏิบัติในเชิงพาณิชย์, โดยเฉลี่ยแล้วสถานประกอบการแต่ละรายจะประกอบไปด้วย ห้องอบลำไยประมาณ 2 ถึง 3 ห้อง แต่ละห้องสามารถอบลำไยได้ครั้งละ 4 ตัน หรือประมาณ 400 ตันต่อฤดูการผลิตลำไย. วท. ได้ดำเนินการฝึกอบรมทั้งในเรื่องที่เกี่ยวกับเทคนิคการอบผลลำไยด้วยซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ตลอดจนการปฏิบัติหลังการเก็บเกี่ยวสำหรับลำไยเพื่อการส่งออกอย่างกว้างขวางและทั่ว ประเทศมากกว่า 500 คน/วัน. สำหรับปัญหาของการส่งออกเกี่ยวกับสารซัลเฟอร์ไดออกไซด์ที่ตกค้างในลำไยสดนั้น วท. ได้ดำเนินการร่วมกับกระทรวงพาณิชย์ และกระทรวงอุตสาหกรรมอยู่ในขณะนี้, โดยที่ประเทศไทยได้ยื่นความจำนงต่อคณะกรรมการ Codex Food Additives Committee เพื่อให้ยอมรับและอนุญาตให้มีซัลเฟอร์ไดออกไซด์ตกค้างในเนื้อลำไยเป็นปริมาณ 10 ug/g. เพื่อให้ผู้บริโภคมีความเข้าใจในเรื่องดังกล่าว ตลอดจนเพื่อให้กระบวนการอบผลลำไยเป็นไปอย่างถูกวิธี, วท. ได้วางรากฐานระบบประกันคุณภาพโดยจัดทำคู่มือการปฏิบัติที่ดีสำหรับการอบผลลำไยด้วยซัลเฟอร์ไดออกไซด์, พัฒนาระบบและกฎเกณฑ์ HACCP ที่พิสจน์แล้วว่ามีประโยชน์และสามารถตรวจสอบได้เพื่อใช้ในการวินิจฉัยและป้องกันไม่ให้ผลลำไยมีสารซัลเฟอร์ไดออกไซด์ในระดับที่สูงเกินไป. -ผู้แต่ง.Review: เทคโนโลยีการรมควันด้วยซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ได้มีส่วนสำคัญอย่างมากต่อการส่งออกลำไยสดไปต่างประเทศ. การรมควันด้วยซัลเฟอร์ไดออกไซด์ดังกล่าวนับเป็นความสำเร็จอย่างสูงภายใต้โครงการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวลำไยของสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วท.) ซึ่งได้ดำเนินการวิจัยและพัฒนาเป็นระยะเวลามากว่า 14 ปี. เริ่มตั้งแต่ปี 2527 ถึง 2541 โดยได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากศูนย์วิจัยการเกษตรระหว่างประเทศของ ประเทศออสเตรเลีย และสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ผลสำเร็จของโครงการได้มีการนำไปใช้งานอย่างแท้จริง และช่วยให้สามารถส่งออกลำไยได้มากยิ่งขึ้น.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ชนิดของทรัพยากร Location Call number สถานะ Last seen Copy No. บาร์โค้ด
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 1 RP1998/1048
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 2 RP1998/1048-2

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300