การอบรมและการสาธิตการผลิตพืชผักปลอดภัยจากสารพิษ = technology transfer on pesticide free vegetable production / Parinya Vilairatana...[et al.]

ผู้แต่งร่วม: Artchawakom, Taksin | Kavilaves, Prayut | Niwaspragrit, Cholticha | Tanpanich, Sayan | Vilairatana, Parinya | ประยุทธ กาวิละเวส | สายันต์ ตันพานิช | ชลธิชา นิวาสประกฤติ | ปริญญา วิไลรัตน์ | ทักษิณ อาชวาคม | Thailand Institute of Scientific and Technological Research
Language: Thai ชื่อชุด: Tech. Tran. Proj. no. 44-38 Rep. no.1ข้อมูลการพิมพ์: Bangkok : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 2002 รายละเอียดตัวเล่ม: 11 p.ชื่อเรื่องอื่นๆ: การอบรมและการสาธิตการผลิตพืชผักปลอดภัยจากสารพิษหัวเรื่อง: Biofertilizers | Compost | Organic crops | Organic fertilizers | Plant extracts | Technology transfer | Vegetablesสารสนเทศออนไลน์: Click here to access full-text สาระสังเขป: Six commercial vegetables containing yardlong bean, cucumber, chinese kale, kaisin, shallot, and coriander were grown and performance yields between the control and the under net-house conditions were also investigated. Pest hardiness vegetables such as water convolvulus, chinese leek, and lettuce were included in the non-netted house to represent the less or non-pesticide sprayed vegetable production method. All of the methods were, however, employed with efficient irrigation system including dripping and mini-sprinkler systems on both treatments.สาระสังเขป: Technology transfer on pesticide free vegetable production was organized in two phases. The first phase was a construction of three white-nylon-net houses with size 10 x 30 x 2.5 meters, and an additional of open demonstration plots of approximately 3 rai at Lam Takhong Research Station in Pakchong District, Nakhon Ratchasima Province. The purpose was to demonstrate pesticide free vegetable production with integrated pest management. The method involved a compost of organic matters and readily available local waste materials such as cow manure, pig manure, poultry manure, cassava waste, rice husk, and burnt rice husk with biological control and plant extract.สาระสังเขป: The second phase was organizing the training workshop. The station organized two training courses on pesticide free vegetable production. There were 127 selected participants from farmers or professional vegetable production groups, government officials, and others in Pakchong, Sikhieu and Sungnoen Districts of Nakhon Ratchasima and Chaiyaphum Provinces. The training included several lectures on the harmful usage of pesticide, impacts of pesticide on users, consumers, and the environment. The courses also provided knowledge in the process of producing pesticide free vegetables, using manure and compost, biological and plant extracts to control pest and how to use agricultural chemicals safely. Participants were allowed to practice and gain experiences in compost, biological extract as inorganic agriculture, herbal and indigenous plant extracts for pest control, and sticky trap. At the end of each training course, participants were allowed to visit the stations; demonstration field for pesticide free vegetable production to observe and develop an applicable skill for their own future production. - Authors.สาระสังเขป: การดำเนินการอบรมและสาธิตการผลิตพืชผักปลอดภัยจากสารพิษ แบ่งออกเป็น 2 ขั้นตอน: ขั้นตอนแรกเป็นการจัดทำแปลงสาธิตการปลูกผักให้ปลอดภัยจากสารพิษในระบบเรือนโรง โดยการสร้างโรงเรือนมุ้งตาข่ายไนลอนสีขาว ขนาด 10 x 30 x 2.5 เมตร จำนวน 3 หลัง และแปลงสาธิตนอกเรือนโรง เนื้อที่ประมาณ 3 ไร่, ร่วมกับการประยุกต์วิธีการผลิตผักให้ปลอดภัยจากสารพิษ โดยวิธีผสมผสาน. วิธีนี้เป็นการนำอินทรีย์วัตถุและวัสดุเหลือใช้ชนดต่าง ๆ ที่หาได้ง่ายในท้องถิ่น ได้แก่ มูลโค, มูลสุกร, มูลไก่, กากมันสำปะหลัง, แกลบสดและแกลบเผา มาทำเป็นปุ๋ยหมักเพื่อนำมาใช้ในแปลงปลูก, รวมกับการใช้ชีวินทรีย์และสารสกัดจากธรรมชาติในการเพิ่มผลผลิต ซึ่งเป็นการสนับสนุนให้เกษตรกรนำไปปฏิบัติเพื่อทดแทนการใช้ปุ๋ยและสารเคมีกำจัดศัตรูพืช.สาระสังเขป: ต่อไปเป็นการจัดฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ 2 ครั้ง ณ สถานีวิจัยละตะคอง อำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา โดยการคัดเลือกผู้เข้าร่วมกิจกรรมจากเกษตรกรหรือกลุ่มเกษตรกรที่ผลิตพืชผักเป็นอาชีพ, รวมถึงเจ้าหน้าของรัฐและผู้สนใจ ในเขตอำเภอปากช่อง, อกเภอสีคิ้ว, อำเภอสูงเนิน, จังหวัดนครราชสีมา และจังหวัดชัยภูมิ รวมทั้งสิ้น 127 คน. ในภาคบรรยายนั้น ผู้เข้ารับการฝึกอบรมได้รับรู้ถึงพิษภัยของสารเคมี, ผลกระทบของสารเคมีที่เกิดขึ้นต่อผู้ใช้, ผู้ใช้บริโภคและสิ่งแวดล้อม, กระบวนการผลิตพืชผักให้ปลอดภัยจากสารพิษ, การใช้ปุ๋ยคอก, ปุ๋ยหมัก, การใช้ชีวินทรีย์, การใช้สารสกัดจากพืช เพื่อเป็นสารป้องกันและกำจัดแมลงศัตรูพืชผักและวิธีการใช้สารเคมีอย่างปลอดภัย. ในภาคปฏิบัติผู้เข้ารับการฝึกอบรมได้เรียนรู้และฝึกฝนการทำปุ๋ยหมัก, การผลิตน้ำสกัดชีวภาพตามแนวทางเกษตรอินทรีย์, การผลิตสารป้องกันและกำจัดศัตรูพืชจากสมุนไพรและพืชพื้นบ้าน, การผลิตกับดักกาวเหนียวเพื่อใช้เอง รวมทั้งการเยี่ยมชมแปลงสาธิตการผลิตพืชผักปลอดสารพิษของสถานีวิจัยลำตะคอง. - ผู้แต่ง.สาระสังเขป: มีการปลูกผักที่เป็นผักเศรษฐกิจ ซึ่งเป็นที่ต้องการของตลาดและผู้บริโภค ได้แก่ ถั่วฝักยาว, แตงร้าน, ผักคะน้า, ผักกว่างตุ้ง, หอมแบ่งและผักชี เพื่อสาธิตการผลิตทั้งในและนอกเรือนโรง. รวมทั้งได้นำพืชที่แมลงรบกวนน้อย อาทิ ผักบุ้งจีน, กุยช่าย, และผักกาดหอม มาปลูกสาธิตในระบบนอกเรือนโรง เพื่อเป็นตัวแทนในการผลิตผักที่ไม่ต้องใช้สารเคมี หรือใช้สารเคมีน้อย แต่เน้นการให้น้ำอย่างมีประสิทธิภาพโดยใช้ระบบน้ำหยดและแบบพ่นฝอยในการปลูกผักในเรือนโรงกับระบบน้ำหยดและมินิสปริงเกอร์-ายนอกเรือนโรง.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ชนิดของทรัพยากร Location Call number สถานะ Last seen Copy No. บาร์โค้ด
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 1 RP2002/1182
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 2 RP2002/1182-2

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300