การวิจัยและพัฒนาการจัดการธาตุอาหารพืชแบบผสมผสานเพื่อการผลิตกาแฟอาราบิก้าอินทรีย์= Research and development on integrated plant nutrient management for organic arabica coffee production / Rochana Tangkoonboribun [et al.] (CONFIDENTIAL)

โดย: Rochana Tangkoonboribun
ผู้แต่งร่วม: Rochana Tangkoonboribun | Khanok-on Amprayn | Anan Piriyaphattarakit | Pawaris Tangbovornthamma | Praweena Tangbovornthamma | Somjit Soontornvipak | รจนา ตั้งกุลบริบูรณ์ | กนกอร อัมพรายน์ | อนันต์ พิริยะภัทรกิจ | ปวริศ ตั้งบวรธรรมา | ประวีณา ตั้งบวรธรรมา | สมจิตร สุนทรวิภาค
ชื่อชุด: Res. Proj. no. 62-12, Sub Proj. no. 2; no.1 (Final report) (CONFIDENTIAL)ข้อมูลการพิมพ์: Pathumthani : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 2023 รายละเอียดตัวเล่ม: 41 p. : table, ill. ; 30 cm.ชื่อเรื่องอื่นๆ: โครงการวิจัยที่ ภ.62-12 การวิจัยและพัฒนาการผลิตกาแฟอาราบิก้าอินทรีย์หัวเรื่อง: กาแฟอาราบิก้า | ปุ๋ยอินทรีย์สาระสังเขป: Arabica coffee generally grown in the northern territory of Thailand and is becoming increasingly popular among coffee lover especially organic coffee. To obtain maximum yield and good quality, precision nutrient management should be employed. Thus, the planting soil fertility should be quantified and proper practices was necessary for organic transition or organic cultivation of coffee. According to the studies, it was found that the coffee planting soil of Khun Lao, Wieng Papao, Chiangrai had high acidity with low available phosphorus content. As a result, the amount of plant nutrients was not sufficient for the growth and yield of Arabica coffee. The use of coffee residues to produce organic fertilizer by local growers found that it took too long period to be mature. After playing with the ingredient portion and put TISTR means in compost practice, the compost was completely decomposed within a period of 1 month. Once the mature compost applied to the organic grown coffee trees, the resulting coffee bean provided more good quality seeds and taste better (cupping) comparing to the coffee beans from farmer's compost application treatment.สาระสังเขป: กาแฟอาราบิก้าปลูกอยู่ทั่วไปตามพื้นที่ดอยในภาคเหนือ กำลังเป็นที่นิยมเพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะกาแฟอินทรีย์ การจัดการธาตุอาหารให้เหมาะสมกับพื้นที่เพื่อให้ได้ผลผลิตสูงสุดและมีคุณภาพดี มีความจำเป็นที่ต้องประเมินศักยภาพของดินและพัฒนาระบบการผลิตที่เปลี่ยนผ่านไปสู่การผลิตอินทรีย์หรือระบบการผลิตอินทรีย์ที่เหมาะสมสำหรับพื้นที่ จากการศึกษาพบว่า ดินบริเวณที่ใช้ปลูกกาแฟดอยขุนลาว ต.แม่เจดีย์ใหญ่ อ.เวียงป่าเป้า จ.เชียงราย มีค่าความเป็นกรดจัด มีปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ต่ำ เป็นเหตุให้ปริมาณความเป็นประโยชน์ของธาตุอาหารพืชไม่เพียงพอต่อการเจริญเติบโตและให้ผลผลิตของกาแฟอาราบิก้าเต็มที่ การนำกากเชอร์รีมาใช้ผลิตเป็นปุ๋ยอินทรีย์โดยเกษตรกร พบว่าใช้เวลานานเกินไป เมื่อปรับเปลี่ยนสัดส่วนวัตถุดิบ และจัดการกองปุ๋ยด้วยวิธี วว. ช่วยให้ปุ๋ยหมักย่อยสลายสมบูรณ์ได้ภายในระยะเวลา 1 เดือน และเมื่อนำปุ๋ยไปทดลองใช้กับต้นกาแฟอาราบิก้าในแปลงปลูกระบบอินทรีย์ พบว่า ปริมาณผลผลิตกาแฟต่อต้นไม่แตกต่างกัน แต่เมื่อใช้ปุ๋ยอินทรีย์สูตร วว. จะช่วยให้ได้เปอร์เซ็นต์เมล็ดสมบูรณ์มากกว่า และให้กลิ่นรสที่ดึงดูดใจมากกว่า
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ไม่มีรายการทางกายภาพสำหรับระเบียนนี้

There are no comments on this title.

to post a comment.

Click on an image to view it in the image viewer

    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300