การพัฒนาวัสดุเคลือบปุ๋ยจากยางธรรมชาติเพื่อควบคุมการปลดปล่อย = Development of coating materials from natural rubber for controlled-release fertilizers / Jate panichpakdee [et al.] (CONFIDENTIAL)

โดย: Jate panichpakdee
ผู้แต่งร่วม: Jate panichpakdee | Siriporn larpkiattaworn | Sarat nuchchapong | Laksana wangmooklang | Punthinee somwongsa | Kanrawee bosuwan | Anan piriyaphattaratkit | เจต พานิชภักดี | ศิริพร ลาภเกียรติถาวร | สารัตน์ นุชพงษ์ | ลักษณา หวังหมู่กลาง | พันธ์ฐิณี สมวงศ์ษา | กัญญ์รวี บ่อสุวรรณ | อนันต์ พิริยะกิจ
BCG: เกษตรปลอดภัย TRM: นวัตกรรมการเกษตร ชื่อชุด: Res. Proj. no. 60-35, Sub Proj. no. 1; no. 1 (Final report) (CONFIDENTIAL)ข้อมูลการพิมพ์: Pathumthani : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 2024 รายละเอียดตัวเล่ม: 63 p. : tables, ill. ; 30 cm.ชื่อเรื่องอื่นๆ: โครงการวิจัยที่ ภ.60-35 การพัฒนานวัตกรรมวัสดุพรุนตัวจากยางธรรมชาติเพื่อสิ่งแวดล้อมหัวเรื่อง: วัสดุเคลือบปุ๋ย | ยางธรรมชาติ | การดัดแปลงโครงสร้างทางเคมีสาระสังเขป: This project aimed to develop coating materials, based on natural rubber for use as controlled-release fertilizers. This project was divided into two parts: 1) the preparation of coating materials for urea fertilizer granule; and 2) the preparation of non-woven sheet containing urea. The experiments of this project involved the synthesis of natural rubber grafted with chitosan (first layer), the synthesis of polyethylene glycol diacrylate (second layer), and the potential for the use of synthesized materials as coating materials for controlled-release fertilizers. The results revealed that synthesized materials played an important role in controlled-release fertilizer. Moreover, non-woven fiber mats containing urea was also developed and evaluated in this studyสาระสังเขป: ในโครงการวิจัยนี้ วัสดุเคลือบปุ๋ยจากยางธรรมชาติได้ถูกวิจัยและพัฒนาโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อใช้เป็นวัสดุเคลือบปุ๋ยเพื่อควบคุมการปลดปล่อย โดยการศึกษาแบ่งออกเป็นสองส่วน คือ การขึ้นรูปวัสดุเคลือบปุ๋ยแบบเม็ดและการขึ้นรูปวัสดุเคลือบปุ๋ยแบบแผ่นเส้นใย ในการขึ้นรูปวัสดุเคลือบปุ๋ยแบบเม็ด เริ่มจากการสังเคราะห์ยางธรรมชาติที่ดัดแปลงโครงสร้างทางเคมีด้วยการต่อกิ่งไคโตซาน (ชั้นเคลือบที่หนึ่ง) การสังเคราะห์พอลิเอทิลีนไกลคอลที่ดัดแปลงโครงสร้างทางเคมีด้วยสารเมทาคริลิคแอนไฮไดรด์ (ชั้นเคลือบที่สอง) และการประเมินถึงศักยภาพในการนำไปใช้เคลือบปุ๋ยเพื่อการควบคุมการปลดปล่อย โดยผลการทดลอง พบว่า ยางธรรมชาติที่ต่อกิ่งด้วยไคโตซานและพอลิเอทิลีนไกลคอลที่ดัดแปลงโครงสร้างทางเคมี ที่สังเคราะห์ขึ้นมาในงานวิจัยชิ้นนี้มีบทบาทสำคัญในการควบคุมการปลดปล่อยปุ๋ย นอกจากนั้น การขึ้นรูปวัสดุเคลือบปุ๋ยแบบแผ่นเส้นใยได้ถูกพัฒนาและทำการศึกษาในงานวิจัยชิ้นนี้ด้วยเช่นกัน
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ไม่มีรายการทางกายภาพสำหรับระเบียนนี้

There are no comments on this title.

to post a comment.

Click on an image to view it in the image viewer

    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300