วิจัยเอกลักษณ์ประจำสายพันธุ์สับปะรดเหลืองสามร้อยยอดเพื่อตรวจสอบและรับรองสายพันธุ์ในการส่งออก = Research on lueng sam roi yod cultivar identification using sequence characterized dna marker for export certification / Kanlaya Mokhaphan [et al.]
โดย: Kanlaya Mokhaphan
ผู้แต่งร่วม: กัลยา โมกขพันธุ์
| ธนภักษ์ อินยอด
| ชลธิชา นิวาสประกฤติ
| จักรกฤษณ์ ศรีแสง
| ชาตรี กอนี
| Kanlaya Mokhaphan
| Tanapak Inyod
| Cholticha Niwaspragrit
| Jakkrit Sreesaeng
| Chatree Kornee
Language: Thai ชื่อชุด: Res. Proj. no. 59-19, Sub Proj. no. 1; no.1 (Final report)ข้อมูลการพิมพ์: Pathumthani Thailand Institute of Scientific and Technological Research 2020 รายละเอียดตัวเล่ม: 62 p. 30 cm.ชื่อเรื่องอื่นๆ: โครงการวิจัยที่ ภ.59-19 การวิจัยและพัฒนาเพื่อเพิ่มศักยภาพในการส่งออกผลสดสับปะรดสายพันธุ์ใหม่ (เหลืองสามร้อยยอด)สารสนเทศออนไลน์: Click here to access Full-text สาระสังเขป: Pineapple (AnanascomosusL., Merr), is an important cashcrop of Thailand. The commercial pineapple cultivars are Pattavia, Trad Sithong, Phuket, Phulae and Phetburi. Recently, a new variety, Luengsamroiyod, is repoted as a spontaneous mutation. The large rapid propagation from its tissue culture caused more genetic variation. The morphological characteristics of Luengsamroiyod are yellow flesh, fragrant, crispier flat eyes and tolerant to chilling or internal browning symptom. The genetic variation among 25 pineapple varieties were determined using AFLP technique. Twenty from 209 primer combinations revealed 1025 AFLP marker and polymorphism (86.73% )were found in 889 markers. to Total number of bands were analyzed by NTSYSpc version 2.1m.. Phylogeneticstree was generated by Unweighted pair group method (UPGMA) at genetic similarity of 0.90. The cophenetic correlation value was r=0.99. The twenty-five pineapple accessions were separated into 11 major clusters. Clusters 1 consisted of hybrid group which were LuengSam Roi Yod, Thainung, MG-3, MD-2 and tropical gold. Cluster 2 included two pineapple cultivars in Spanish group which were Intra Chit Khaw and Intra Chit Dang. Cluster 3 was Smooth Cayenne group which consisted of Pattavia andRaimuangwhich.. Cluster 4 was the White Jewel, a variety that was classified into Perolera group. Cluster5 consisted of pineapple in Queen group which were Phuket and Phuchawa. Cluster6-9 was intraspecific hybrid including HANA100, HANA114, HANA113 and HANA63. Cluster 10-11 was Bromeliad which wereornamental pineapples. The AFLP marker wasused to classify 25 pineapple accessions into 11 clusters and related with morphological characteristic classification of each pineapple group. AFLP-SCAR markers were developed for LuengSam Roi Yod identification from the hybrid pineapple varieties. Two primer combinations, E-CAA + M-GTA (100 basepairs) and E-ACG+ M-CAA (250 basepairs) provided the specific bands for LuengSam Roi Yod. These bands were purified and cloned into the vector. The recombinant clones were sequenced and used for designing primer. The PCR product of two primer pair, pG2/3 forwad+pG2/3 reverse and pG2/4 forward + pG2/4 reverse were separated LuengSam Roi Yod from hybrid varieties 25% and 38%, respectively. The resultsfrom the study revealed that SCAR markers can be usefor further selection and export certification process. สาระสังเขป: สับปะรดเป็นพืชเศรษฐกิจที่มีสำคัญของประเทศไทย พันธุ์สับปะรดที่นิยมปลูกคือ พันธุ์ปัตตาเวีย พันธุ์ตราดสีทอง พันธุ์ภูเก็ตพันธุ์ภูแลและพันธุ์เพชรบุรี. ปัจจุบันมีสับปะรดสายพันธุ์ใหม่คือ พันธุ์เหลืองสามร้อยยอดที่เกิดการกลายพันธุ์ตามธรรมชาติ. การเพิ่มปริมาณอย่างรวดเร็วด้วยวิธีเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อก่อให้เกิดลักษณะดีคือ เนื้อสีเหลือง กลิ่นหอม เนื้อแข็ง ตาตื้น และไม่พบอาการไส้สีน้ำตาลเมื่อเก็บที่อุณหภูมิต่ำเป็นเวลานาน ซึ่งเป็นลักษณะที่เหมาะสมต่อการส่งเสริมให้ปลูกสำหรับส่งออกผลสด แต่พบปัญหาด้านความแปรปรวนทางพันธุกรรมค่อนข้างสูงจำเป็นต้องได้รับการ-คัดเลือกและตรวจสอบความคงตัวทางพันธุกรรมของสับปะรดสายเหลืองสามร้อยยอด. การตรวจสอบความหลากหลายทางพันธุกรรมด้วยเทคนิค AFLP มาใช้ตรวจสอบสับปะรดจำนวน 25 สายพันธุ์ พบว่ามีคู่ไพรเมอร์ที่ให้ความแตกต่างของแถบดีเอ็นเอ 20 คู่ไพรเมอร์ จากทั้งหมด 209 คู่ไพรเมอร์ ให้จำนวนแถบดีเอ็นเอทั้งหมด 1025 แถบ มีแถบดีเอ็นที่มีความต่าง (Polymorphism) 889 แถบ คิดเป็น 86.73 เปอร์เซ็นต์. วิเคราะห์ความหลากหลายทางพันธุกรรมด้วยโปรแกรม NTSYS 2.10 m จัดความสัมพันธ์ในรูปแบบ Phylogenetic tree โดยวิธี UPGMA ให้ค่าความเหมือนทางพันธุกรรมเท่ากับ 0.90 และมีค่า r เท่ากับ 0.99 สามารถจำแนกความสัมพันธ์ของสับปะรดได้ 11 กลุ่ม ดังนี้กลุ่มที่ 1 Hybrid ได้แก่พันธุ์ เหลืองสามร้อยยอด, ไทนุง, MG-3, MD-2 และทรอปิคอล โกล์ด กลุ่มที่ 2 Spanish ได้แก่พันธุ์ อินทรชิตขาว และอินทรชิตแดง กลุ่มที่ 3 Smooth Cayenne ประกอบด้วยสับปะรด 2 สายพันธุ์ ได้แก่สับปะรดพันธุ์ ปัตตาเวีย และ ไร่ม่วง กลุ่มที่ 4 Perolera ประกอบด้วยสับปะรด 1 สายพันธุ์ คือ ไวท์จีเวลกลุ่มที่ 5 Queen ได้แก่ สับปะรดพันธุ์ ภูเก็ต และภูชวากลุ่มที่ 6-9 intra-specific hybrid ประกอบด้วยสับปะรด Hana100, Hana114, Hana113 และ Hana63 และกลุ่มที่ 10-11 Bromelia กลุ่มสับปะรดสีสอดคล้องกับลักษณะทางสัณฐานวิทยา. การพัฒนาเครื่องหมาย AFLP-SCAR พบว่า มีเพียง 2 คู่ไพรเมอร์ แสดงแถบที่แตกต่างของสายพันธุ์เหลืองสามร้อยยอดกับสายพันธุ์ลูกผสมได้คือ E-CAA+M-GTA (ขนาด 100 คู่เบส) และ E-ACG+ M-CAA (ขนาด 250 คู่เบส) ให้แถบดีเอ็นเอที่บ่งชี้ความแตกต่างการแยกแถบดีเอ็นเอจากสายพันธุ์สามร้อยยอดแล้วสร้างดีเอ็นเอสายผสม การวิเคราะห์ลำดับดีเอ็นเอเพื่อนำมาใช้ออกแบบ ไพรเมอร์ที่จำเพาะกับสับปะรดเหลืองสามร้อยยอด เมื่อทดสอบความจำเพาะต่อสับปะรดสายพันธุ์เหลืองสามร้อยยอดจำนวน 100 ต้น พบว่า มี 2 คู่ไพรเมอร์ คือ pG2/3 Forward+ pG2/3 Reverse และpG2/4 Forward+pG2/4 Reverse เกิดแถบดีเอ็นเอที่สามารถชี้เฉพาะสับปะรดเหลืองสามร้อยยอดจำนวน 25 ต้น และ 38 ต้น ตามลำดับ. เครื่องหมาย SCAR นี้สามารถใช้ในการคัดเลือก และรับรองสายพันธุ์สับปะรดเหลืองสามร้อยยอดออกจากพันธุ์การค้าเพื่อรองรับการส่งออกได้ในอนาคต.
ไม่มีรายการทางกายภาพสำหรับระเบียนนี้
There are no comments on this title.