การวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการตกตะกอนเกลือแมกนีเซียม แอมโมเนียม ฟอสเฟต จากน้ำเสียเอทานอล = research and development of technology for magnesium ammonium phosphate (map) precipitation / Patthanant Natpinit ...[etal.]

ผู้แต่งร่วม: Anuwattana, Rewadee | Ditkaew, Thitirat | Natpinit, Patthanant | Suppinunt, Tawee | ปรีชา ดิษฐเสถียร | นาถพินิจ, พัทธนันท์ | ทวี สัปปินันท์ | เรวดี อนุวัฒนา | Thailand Institute of Scientific and Technological Research
Language: Thai ชื่อชุด: Res. Proj. no. 55-08, Sub proj. no. 4 ; Rep. no.1 (Final Report)ข้อมูลการพิมพ์: Pathumthani : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 2017 รายละเอียดตัวเล่ม: 95 p.ชื่อเรื่องอื่นๆ: การวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการตกตะกอนเกลือแมกนีเซียม แอมโมเนียม ฟอสเฟต จากน้ำเสียเอทานอลหัวเรื่อง: Magnesium ammonium phosphate | เอทานอล | น้ำเสีย | น้ำเสียเอทานอลสารสนเทศออนไลน์: Click here to access cover | Click here to access full-text สาระสังเขป: The objective of this study aimed to develop the technology of precipitation of magnesium ammonium phosphate (MAP) from ethanol wastewater after biogas production. The study conditions of MAP precipitaton were pH (8.0-11.0) and molar ratio of Mg:NH4:PO4 (1.0-1.5:1:1.0-1.5). The results showed that the optimum pH and molar ratio were 8.5 and 1.1:1:1, respectively. Ethanol wastewater after biogas production could be used for MAP precipitation without a preliminary treatment with acid adjusting. The solubilization capacity of MAP was 500 mg/l. The compositions of MAP were total N and P2O5 were 3.2% and 11.03% by weight, respectively. The efficiency removal of Mg, N and P from ethanol wastewater were 91%, 68% and 91%, respectively. The chemical organic fertilizer pellet made from MAP and organic fertilizer which have 3.65% of nitrogen (Total N), 6.98% of phosphorus (P2O5) and 1.42% of potash (K2O) by weight. The ratio of N:P:K of chemical fertilizer pellet was 3.1:2.6:1.0 which could be applied to both leaf plants and flowering plant. สาระสังเขป: โครงการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาเทคโนโลยีการตกตะกอนเกลือแมกนีเซียมแอมโมเนียมฟอสเฟตจากน้ำเสียเอทานอลที่ผ่านการผลิตก๊าซชีวภาพแล้ว โดยศึกษาสภาวะที่มีผลต่อการตกตะกอนเกลือแมกนีเซียม แอมโมเนียม ฟอสเฟต เช่น ระดับพีเอช ที่ 8-11 และอัตราส่วนโดยโมลของแมกนีเซียมต่อแอมโมเนียมต่อฟอสเฟต ที่ 1.0-1.5 พบว่าที่ระดับพีเอช 8.5 และอัตราส่วนโดยโมลของแมกนีเซียมต่อแอมโมเนียมต่อฟอสเฟต ที่ 1.1: 1: 1 เป็นสภาวะที่เหมาะสมในการตกตะกอนเกลือแมกนีเซียม แอมโมเนียม ฟอสเฟต น้ำเสียที่ผ่านการผลิตก๊าซชีวภาพแล้วสามารถนำมาตกตะกอนได้ โดยไม่จำเป็นต้องมีการบำบัดขั้นต้นด้วยการปรับสภาพให้เป็นกรด ตะกอนเกลือแมกนีเซียม แอมโมเนียม ฟอสเฟตที่ได้มีความสามารถในการละลาย 500 มิลลิกรัมต่อลิตร และมีปริมาณไนโตรเจน (Total N) และ ฟอสฟอรัส (P2O5) คิดเป็น 3.2% และ 11.03% โดยน้ำหนัก ตามลำดับ ประสิทธิภาพในการกำจัดแมกนีเซียม ไนโตรเจน และฟอสฟอรัสจากน้ำเสียเอทานอลคิดเป็น 90.62, 68.01 และ 91.68% ตามลำดับ. ปุ๋ยอินทรีย์เคมีอัดเม็ดที่ได้จากการผสมเกลือแมกนีเซียม แอมโมเนียม ฟอสเฟตกับปุ๋ยอินทรีย์มีปริมาณไนโตรเจน (Total N) ฟอสฟอรัส (P2O5) และโพแทส (K2O) คิดเป็น 3.65, 6.98 และ 1.42% โดยน้ำหนัก ตามลำดับ ซึ่งมีสัดส่วนไนโตรเจนต่อฟอสฟอรัสต่อโพแทสเซียมเป็น 3.1 : 2.6 : 1.0 แสดงว่าสามารถนำไปใช้ได้ทั้งพืชใบ และพืชดอก.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ชนิดของทรัพยากร Location Call number สถานะ Last seen Copy No. บาร์โค้ด
General Book
Available 2019-06-21 1 RP2017/1701
General Book
Available 2019-06-21 2 RP2017/1701-1

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300