การพัฒนาเครื่องแยกไลโคปีนจากน้ำมะเขือเทศและบีตากลูแคนจาก จุลินทรีย์ด้วยพอลิเมอร์เมมเบรนชนิดเส้นใยกลวง = Development of membrane system for extraction of lycopene from tomato and beta-glucan from microbial / Weeradech Kiratitanavit [et al.] (CONFIDENTIAL)

โดย: Weeradech Kiratitanavit
ผู้แต่งร่วม: Weeradech Kiratitanavit | Pornpen Siridamrong | Phanthinee Somwongsa | Chutima Eamchotchawalit | วีรเดช กีรติธนวิทย์ | พรเพ็ญ ศิริดำรง | พันธ์ฐินี สมวงศ์ษา | ชุติมา เอี่ยมโชติชวลิต
Language: Thai ชื่อชุด: Res. Proj. no. 49-01, Sub Proj. no. 4; no.1 (Final report) (CONFIDENTIAL)ข้อมูลการพิมพ์: Pathumthani : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 2021 รายละเอียดตัวเล่ม: 93 p.ชื่อเรื่องอื่นๆ: โครงการวิจัยที่ ภ.49-01 การวิจัยและพัฒนาเครื่องดื่มเพื่อสุขภาพ โครงการย่อยที่ 4 การพัฒนาเครื่องแยกไลโคปีนจากน้ำมะเขือเทศและเบต้ากลูแคนจากจุลินทรีย์ด้วย พอลิเมอร์เมมเบรนชนิดเส้นใยกลวง รายงานฉบับที่ 1 (ฉบับสมบูรณ์) การพัฒนาเครื่องแยกไลโคปีนจากน้ำมะเขือเทศและเบต้ากลูแคนจากจุลินทรีย์ ด้วยพอลิเมอร์เมมเบรนชนิดเส้นใยกลวงหัวเรื่อง: น้ำมะเขือเทศ | บีตากลูแคนสาระสังเขป: The membrane design and the preparation of hollow fiber membrane for extraction of lycopene from tomato and beta-glucan from microbes were investigated in this research. From the preliminary study, the extraction of lycopene from tomato could only be carried out by using pervaporation process, not by the commercial and lab-producing hollow fiber polysulfone membrane and hexane as extraction solvent. Then, lycopene would be separated from hexane by using membrane. The preparation of polysulfone and polyethersulfone membranes used in the ultrafiltration membrane system for lycopene and beta-glucan extraction revealed that polyethersulfone membrane gave the better pure water flux than that from polysulfone membrane. The study results of pore forming additive showed that triacetin produced the membrane with more appropriate porosity and much smaller pores than that of 1,2-propanediol. has influence on membrane properties, the membrane with triacetin exhibite the appropriate embrane porosity and small pore comparing to membrane added 1,2-propanediol which resulted in the higher flux of pure water as well as the higher retention time of bovine serum albumin. Similarly, polyethyleneglycol and triacetin also gave the better membrane property than that of polyvinylpyrrolidone. In the pervaporation process, the comparative study results showed that polysulfone membrane was more suitable than sulfonated polysulfone membrane. 2 In the design of membrane for lycopene extraction in the pervaporation process, it was found that the membrane with dense surface layer structure and slightly porous sublayer structure gave the highest separation index. In this research, the commercial membrane was used in lycopene extraction system and the continuous filtration system was designed and hollow fiber polyethersulfone membrane with various molecular weight cut off used. สาระสังเขป: งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาการออกแบบชุดเมมเบรนและเตรียมเมมเบรนแบบเส้นใยกลวงที่ เหมาะสมในการแยกไลโคปีนจากมะเขือเทศและบีตากลู-แคนจากจุลินทรีย์. จากการวิจัยในเบื้องต้น พบว่า การแยกไลโคปีนออกจากน้ำมะเขือเทศต้องใช้กระบวนการแยกแบบเพอร์แวปเพอเรชันโดยใช้ เฮกเซนละลายสารไลโคปีน ก่อนทำการแยกไลโคปีนและเฮกเซนออกจากกันด้วยเมมเบรน. การเตรียมเมมเบรนพอลิซัลโฟนและอีเทอร์ซัลโฟน เพื่อใช้ในการกรองระบบอัลตราฟิลเทร ชัน สำหรับแยกไลโคปีนและบีตา-กลูแคนที่เตรียมในเบื้องต้น พบว่า เมมเบรนพอลิซัลโฟนให้ค่าฟลักซ์ น้ำบริสุทธิ์ที่ดีกว่าเมมเบรนพอลิอีเทอร์ซัลโฟน ขณะที่สารตัวเติมที่ทำการศึกษา พบว่าไตรแอซีตินเป็น สารก่อรูพรุนที่ทำให้เมมเบรนมีความพรุนตัวและมีรูพรุนขนาดเล็กกว่า 1, 2โพรเพนไดออล ส่งผลให้ เมมเบรนที่เตรียมได้มีค่าฟลักซ์ของน้ำบริสุทธิ์ที่เพิ่มขึ้น, ในขณะที่มีค่าการกักกันโปรตีนประเภทโบวี ซีรัม แอลบูมินสูงเช่นกัน พอลิเมอร์ตัวเติมประเภทพอลิเอทิลีนไกลคอลก็ให้ผลดังกล่าวที่ดีกว่าพอลิไว นิลไพรโรลิโดน. สำหรับเมมเบรนที่ใช้ในกระบวนการเพอร์แวปเพอเรชัน เป็นการศึกษาเปรียบเทียบ กันระหว่างเมมเบรนพอลิซัลโฟนและซัลโฟเนเตดพอลิซัลโฟน พบว่า เมมเบรนพอลิซัลโฟนมีค่าเหมา สมในการใช้แยกเฮกเซนออกจากไลโคปีนที่ดีกว่าซัลโฟเนเตดพอลิซัลโฟน. การออกแบบชุดเมมเบรนสำหรับแยกไลโคปีนด้วยกระบวนการเพอร์แวปเพอเรชัน พบว่า เมมเบรนที่มีโครงสร้างแบบชั้นผิวแน่นและมีโครงสร้างชั้นรองรับแบบมีรูพรุนเล็กน้อย ให้ค่าดัชนีใน การแยกสูงที่สุด ชุดเมมเบรนสำหรับการแยกบีตากลูแคนใช้เมมเบรนทางการค้า โดยออกแบบให้เป็น ชุดกรองแบบต่อเนื่อง โดยใช้เมมเบรนพอลิอีเทอร์ซัลโฟนที่มีค่าการกักกันน้ำหนักโมเลกุลที่ต่างกัน.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ไม่มีรายการทางกายภาพสำหรับระเบียนนี้

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300