การพัฒนาเทคนิคการเก็บรักษาสายพันธุ์สาหร่ายที่ผลิตสารมูลค่าสูงระยะยาวเพื่อการอนุรักษ์นอกถิ่นกำเนิด = development of preservation techniques for precious algal strains capable of high-valued metabolites production for ex situ conservation / Aparat Mahakhant...[et al.]

ผู้แต่งร่วม: Arunpairojana, Vullapa | Kunyalung, Watcharee | Mahakhant, Aparat | Uaisa, Sukanya | วัชรี กัลยาลัง | อาภารัตน์ มหาขันธ์ | วัลลภา อรุณไพโรจน์ | สุกันยา อุยสาห์ | Thailand Institute of Scientific Technological Research
Language: Thai ชื่อชุด: Res. Proj. no. 47-09 ; Rep. no. 1 (Final Report)ข้อมูลการพิมพ์: Bangkok : Thailand Institute of Scientific Technological Research , 2006 รายละเอียดตัวเล่ม: ค, 33 p. : col. ill., tables ; 30 cm.ชื่อเรื่องอื่นๆ: การพัฒนาเทคนิคการเก็บรักษาสายพันธุ์สาหร่ายที่ผลิตสารมูลค่าสูงระยะยาวเพื่อการอนุรักษ์นอกถิ่นกำเนิดหัวเรื่อง: Athrospira platensis | Cryopreservation of organs, tissues, etc | Encapsulation | Freeze-drying | Gelatin disc | Microalgae | Preservation of organs, tissues, etc | Spirulina | การเก็บรักษาสายพันธุ์ | สาหร่ายสารสนเทศออนไลน์: Click here to access cover | Click here to access full-text สาระสังเขป: Study on long-term preservation techniques for 150 microalgal strains was conducted using 4 techniques. The techniques of which were: cryopreservation, encapsulation, freeze-dired and gelain disc. Three cryoprotectants at different concentrations: 5 and 10% dimethyl sulfoxide (DMSO), 10% glycerol and 10% methanol were used in cryopreservation technique. Two methods of freezing were applied. For the one-step freezing, the algal strains were directly freezed at -85 degree celsius, where as in the two-step freezing the algal strains were freezed at the rate of -1degree celsius/min until -30 degree celsius, using control rate freezer, then the strains were kept in liquid nitrogen at -196 degree celsius (deep-freezed). It was shown in one-step freezing the 84% of microalgal algal strains could survive when 5% and 10% DMSO were applied as protectant. In addition, the cryopreservation technique seems to be the most suitable technique for filamentous N2-fixing group. In the case of Arthrospira and Spirulina strains, 100% survival rate could be obtained when the algal strains at the age of 21 days were preserved in 5 or 10% DMSO using the two-steps freezing method. For the encapsulation technique, the algal strains were encapsulated in 1.2% Ca-algenate supplement with 0.5 M sucrose. Then the moisture content of the Ca-algenate beads was reduced to 20% of the initial weight at 30 degree celsius prior to be kept at -150 degree celsius. After storage for 3 days, only 10.66 % of tested strains could survive by this technique. For the freeze-dried technique, the survival of 150 strains were observed immediately after the process was over. The survival of 10% and 8% of the tested strains were obtained when 10% skim milk and 10% supplement with 1% monosodium glutamate were applied as protectants, respectively. In the case of felatin disc technique, 10% gelatin was used for bead preparation. The moisture content of the gelatin beads was removed by freeze-drying. The survivals of 150 strains were observed immediately after the process was overed. None of the strains tested could survive by this technique. - Authors.สาระสังเขป: การวิจัยนี้ได้ำการศึกษาเทคนิคที่เหมาะสมในการเก็บรักษาสายพันธุ์สาหร่ายอย่างถาวรรวมทั้งสิ้น 4 วิธี ได้แก่ 1. cryopreservation 2. encapsulation 3. freeze-dried 4. gelatin disc. การเก็บโดยเทคนิค cryopreservation ใช้ไดเมทิลซัลฟอกไซด์ (dimethy sulfoxide, DMSO) ที่ความเข้มข้น 5 และ 10 เปอร์เซ็นต์, กลีเซอรอล (glycerol) 10 เปอร์เซ็นต์ และเมทานอล (methanol) 10 เปอร์เซ็นต์ เป็นสารรักษาสภาพเซลล์ (cryoprotectant) ในสภาวะการเก็บรักษา 2 สภาวะ คือ การให้ความเย็น 1 ขั้นตอน โดยนำสารละลายสาหร่ายที่ได้ไปแช่โดยตรงที่อุณหภูมิ -85 องศาเซลเซียส, และการให้ความเย็น 2 ขั้นตอน โดยในขั้นตอนแรก นำสารละลายสาหร่ายไปแช่แข็งในอัตรา -1 องศาเซลเซียสต่อนาที จนกระทั่งถึงอุณหภูมิ -30 องศาเซลเซียส โดยใช้ control rate freezer, จากนั้นนำไปแช่ในไนโตรเจนเหลวที่อุณหภูมิ -196 องศาเซลเซียส. ผลการทดสอบการรอดชีวิตของสาหร่าย 150 สายพันธุ์ โดยการให้ความเย็น 1 ขั้นตอน พบว่าการใช้ DMSO ที่ระดับความเข้มข้น 10 เปอร์เซ็นต์ เป็นสารรักษาสภาพเซลล์ จะทำให้อัตราการรอดชีวิตของสาหร่ายสูงที่สุด คือ มีการรอดชีวิตทั้งสิ้น 84 เปอร์เซ็นต์ และเทคนิคนี้มีความเหมาะสมต่อการนำมาใช้ในการเก็บรักษาสายพันธุ์สาหร่ายกลุ่มสีน้ำเงินแกมเขียวแบบเป็นเส้นสายที่ตรึงไนโตรเจนได้ นอกจากนี้การใช้ DMSO ที่ความเข้มข้น 5 หรือ 10 เปอร์เซ็นต์ ในการรักษาสภาพเซลล์สาหร่ายสกุล Athrospira platensis TISTR 8217 และ Spirulina ที่อายุการเพาะเลี้ยงเป็นเวลา 21 วัน ในสภาวะการให้ความเย็น 2 ขึ้นตอน พบว่าสาหร่ายทั้งสองกลุ่มมีอัตราการรอดชีวิต 100 เปอร์เซ็นต์. การเก็บรักษาสายพันธุ์ด้วยเทคนิค encapsulation ทำเซลล์สาหร่ายให้เป็นเม็ดในอัลลิเนตเจล 1.20 เปอร์เซ็นต์ และ sucrose ที่ความเข้มข้น 0.5 โมลาร์ ดูดความชื้นที่อุณหภูมิ 30 องศาเซลเซียส จนกระทั่งเหลือความชื้น 20 เปอร์เซ็นต์ ของน้ำหนักเริ่มต้น, จากนั้นนำไปแช่ที่อุณหภูมิ -150 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 3 วัน พบว่าสายพันธุ์สาหร่ายที่สามารถมีชีวิตรอดเพียง 10.66 เปอร์เซ็นต์ ของสายพันธุ์ที่ใช้ทดสอบ. การเก็บรักษาสายพันธุ์สาหร่ายด้วยเทคนิค freeze-dried โดยผสมเซลล์เข้ากับหางนม 10 เปอร์เซ็นต์ หรือหางนม 10 เปอร์เซ็นต์ ร่วมกับโมโนโซเดียมกลูตาเมต 1 เปอร์เซ็นต์, ทำให้แห้งแบบเยือกแข็ง และทดสอบการมีชีวิตรอดของสาหร่ายหลังการเก็บรักษาทันที พบว่าสาหร่ายมีชีวิตรอด 10 เปอร์เซ็นต์, และ 8 เปอร์เซ็นต์ เมื่อใช้หางนม 10 เปอร์เซ็นต์ และหางนม 10 เปอร์เซ็นต์ ร่วมกัลโมโนโซเดียมกลูตาเมต 1 เปอร์เซ็นต์ เป็นสารรักษาสภาพเซลล์ตามลำดับ. ส่วนการเก็บรักษาสายพันธุ์สาหร่ายด้วยเทคนิค gelatin disc โดยใช้เจลาตินที่ความเข้นข้น 10 เปอร์เซ็นต์ ดูดความชื้นจากเม็ดเจลลาตินด้วยเครื่องทำแห้งแบบเยือกแข็ง ทดสอบการมีชีวิตรอดหลังจากเก็บรักษาเป็นทันที พบว่าไม่มีสาหร่ายพันธุ์ใดสามารถมีขีวิตรอด. - ผู้แต่ง
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ชนิดของทรัพยากร Location Call number สถานะ Last seen Copy No. บาร์โค้ด
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 1 RP2006/1317
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 2 RP2006/1317-2
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 3 RP2006/1317-3

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300