การวิจัยและพัฒนาเครื่องปฏิกรณ์เพื่อผลิตไบโอดีเซล = study and research on biodiesel reactor / Panida iribangkeadpol...[et al.]

ผู้แต่งร่วม: Attanatho, Lalita | Jenvanitpanjakul, Peesamai | Petchtubtim, Kasamar | Siribangkeadpol, Panida | Suemanotham, Amornrat | Thanmongkol, Yuttana | พิศมัย เจนวนิชปัญจกุล | กษมา เพชรทับทิม | ยุทธนา ฐานมงคล | พนิดา ศิริบังเกิดผล | อมรรัตน์ สื่อมโนธรรม | ลลิตา อัตนโถ | Thailand Institute of Scientific and Technological Research
Language: Thai ชื่อชุด: Res. Proj. no. 46-12 , Sub. Proj. no.1 ; Rep. no. 1ข้อมูลการพิมพ์: Bangkok : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 2006 รายละเอียดตัวเล่ม: ฉ, 44 p. : ill., tables ; 30 cm.ชื่อเรื่องอื่นๆ: การวิจัยและพัฒนาเครื่องปฏิกรณ์เพื่อผลิตไบโอดีเซลหัวเรื่อง: Biodiesel | Biodiesel reactor | Diesel motor -- Alternative fuels | Esterification | Palm oil | Tranesterification | เครื่องปฏิกรณ์ | เชื้อเพลิงเหลว | เอสเทอริฟิเคชัน | ไบโอดีเซล | ทรานสเอสเทอริฟเคชัน | น้ำมันปาล์มดิบ | น้ำมันพืชสารสนเทศออนไลน์: Click here to access cover | Click here to access full-text สาระสังเขป: Biodiesel, know as the ester of fatty acid, was produced by esterification or transesterification reaction between vegetable oil or tallow, alcohol and catalyst. By now, the popular technology for biodiesel production was nomogeneous reaction. Therefore, the high efficiency of mixers were required for mixing all reactants to be completed the reaction.สาระสังเขป: Second, setting temperature to 70 degree celsius together with the recommended composition is the appropriate condition for testing the designed reactor in continuous tranesterification process. Because the continuous feed of reactants affected internal reactor's temperature during reaction period, differed from the batch one. Both types of reactor can produce biodiesel which qualified to ASTM D6751 standard in short time.สาระสังเขป: This project intended to find out the appropriate process that performed the efficient production of biodiesel and to test the designed reactor's performance for tranesterification of crude palm oi. First, the two stage process, esterification followed by transesterification reaction, is the good process for improving the production yield from 69.7% to 82.3%, as 4.3% FFA in CPO under 60 degree celsius condition. The ratio of methanol and FFA is 40:1 by mole including 5% by FFA weight of sulfuric acid as catalyst in the former then, 9:1 by mole of methanol and CPO which was catalysted by sodiumhydroxide weigh 0.5% of oil weight in the latter.สาระสังเขป: ไบโอดีเซล หรือเอสเทอร์ของกรดไขมัน ผลิตจากการนำน้ำมันพืช หรือน้ำมันสัตว์ มาผ่านกระบวนการเอสเทอริฟิเคชันหรือทรานเอสเทอริฟิเคชัน ซึ่งเป็นกระบวนการของปฏิกิริยาเคมีระหว่างไขมันหรือน้ำมันกับแอลกอฮอล์ โดยได้ผลิตภัณฑ์เป็นเอสเทอร์ของกรดไขมันและกลีเซอรอล ปัจจุบันเทคโนโลยีการผลิตไบโอดีเซลนิยมใช้กรดหรือด่างเป็นตัวเร่งปฏิกิริยาแบบเอกพันธุ์ซึ่งเกิดขึ้นในวัฎภาคเดียวกัน สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ในแอลกอฮอล์เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาที่ได้รับความนิยม ดังนั้นเครื่องปฏิกรณ์ที่ใช้ในการผสมสารตั้งต้นต่าง ๆ ดังกล่าวจึงเป็นอีกปัจจัยที่สำคัญในการทำให้ปฏิกิริยาดำเนินไปได้อย่างสมบูรณ์และมีประสิทธิภาพสูง.สาระสังเขป: การศึกษานี้มุ่งเน้นที่การทดลองเพื่อหากระบวนการที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพสูงรวมถึงผลการทดสอบเครื่องปฏิกรณ์ที่ได้รับการพัฒนาขึ้นสำหรับการผลิตไบโอดีเซลจากน้ำมันปาล์มดิบ จากการศึกษาพบว่ากระบวนการผลิตแบบ 2 ขั้นตอนโดยเริ่มจากกระบวนการเอสเทอริฟิเคชันซึ่งมีอัตราส่วนโดยโมลของเมทานอลต่อกรดไขมันอิสระ 40:1 และกรดซัลฟิวริกร้อยละ 5 โดยน้ำหนักของกรดไขมันอิสระในน้ำมันปาล์มดิบเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา ตามด้วยกระบวนการทรานเอสเทอริฟิเคชันภายใต้สภาวะอุณหภูมิ 60 องศาเซลเซียส โดยใช้อัตราส่วนโดยโมลของเมทานอลต่อน้ำมันปาล์มดิบ 9:1 ร่วมกับตัวเร่งปฏิกิริยาโซเดียมไฮดรอกไซด์ความเข้มข้นร้อยละ 0.5 โดยน้ำหนักของน้ำมันปาล์มดิบ ให้ปริมาณผลได้ของไบโอดีเซลเพิ่มขึ้นจาก 69.7% เป็น 82.3% โดยน้ำหนัก เมื่อเทียบกับกระบวนการขั้นตอนเดียว.สาระสังเขป: ผลทดสอบการทำปฏิกิริยาทรานเอสเทอริฟิเคชันโดยเครื่องปฏิกรณ์แบบถังกวน 2 แบบ คือแบบ Oldshue Rushton Column และแบบถังใบกวนหลายใบ พบว่าที่อุณหภูมิ 60 องศาเซลเซียส ความเร็วรอบในการผสม 600 รอบต่อนาที ภายใต้กระบวนการผลิตแบบกะ สามารถผลิตไบโอดีเซลที่มีปริมาณกลีเซอรีนทั้งหมดผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ASTM D6751 โดยใช้เวลาในการทำปฏิกิริยาเพียง 30 และ 15 นาที ตามลำดับ แต่หากเป็นกระบวนการผลิตแบบต่อเนื่องต้องปรับเพิ่มอุณหภูมิเป็น 70 องศาเซลเซียส ซึ่งเป็นผลจากการถ่ายเทความร้อนของสารตั้งต้นที่ถูกป้อนเข้าสู่เครื่องปฏิกรณ์ตลอดเวลามีผลให้อุณหภูมิที่ควบคุมลดลงจากค่าที่ตั้งไว้.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ชนิดของทรัพยากร Location Call number สถานะ Last seen Copy No. บาร์โค้ด
General Book
วว. เทคโนธานี
Checked out 2018-11-08 1 RP2006/1318
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 2 RP2006/1318-2

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300