การผลิตน้ำมันหอมระเหยจากมะนาว ฤทธิ์ทางชีวภาพและผลิตภัณฑ์จากน้ำมันมะนาว = lime oil production, the biological activity of the oil and its preparation / Sirinan Thubthimthed...[et al.]

ผู้แต่งร่วม: Rerk-am, Ubon | Suntorntanasat, Taweesak | Tangsatirapakdee, Sinn | Thisayakorn, Charus | Thisayakorn, Krittiya | Thubthimthed, Sirinan | สิน ตั้งสถิรภักดี | ศิรินันท์ ทับทิมเทศ | กฤติยา ทิสยากร | จรัส ทิสยากร | อุบล ฤกษ์อ่ำ | ทวีศักดิ์ สุนทรธนศาสตร์ | Thailand Institute of Scientific and Technological Research
Language: Thai ชื่อชุด: Res. Proj. no. 43-05, Sub. no. 3 ; Rep. no. 1ข้อมูลการพิมพ์: Bangkok : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 2003 รายละเอียดตัวเล่ม: 20 p. : ill., tablesชื่อเรื่องอื่นๆ: การผลิตน้ำมันหอมระเหยจากมะนาว ฤทธิ์ทางชีวภาพและผลิตภัณฑ์จากน้ำมันมะนาวหัวเรื่อง: Alpha-terpineol | Beta-pinene | Chromatography | Chromatography/Mass Spectrometry | Essences and essential oils | Gamma-terpinene | Lime oil | Linonene | Terpinolene | แก๊สโครมาโทกราฟี | แก๊สโครมาโทกราฟีแมสสเปกโทรเมทรี | น้ำมันหอมระเหย | มะนาวสารสนเทศออนไลน์: Click here to access cover | Click here to access full-text สาระสังเขป: The essential oil yields, obtained from hydrodistillation of 4 varieties of lime available in Thailand, varied from 0.16-0.32 % v/w. Gas Chromatography (GC) and Gas Chromatography/Mass Spectrometry (GC/ MS) analysis of the oils showed that they contained limonene, a-terpineol, b-pinene, l-terpinene and terpinolene in various concentrations. The Sikhiu lime oil (SK) exhibited a unique and deviated percentage of chemical constituents. It also showed the most significant CNS-stimulant when the "Open-field motility test" was conducted by inhalant administrative in rats. Three levels ( 3%,6% and 9%) of SK were carried out on the same test in the animal. Following to the same criteria of the test, the 3% and 6% SK significantly showed the optimum stimulative effect in terms of segment crossing and rearing in the rats respectively. The air-freshener that contained lime oil as an active ingredients exhibited CNS stimulative effect, corresponded to the rosemary oil which was used as a positive control. -Authors.Review: น้ำมันหอมระเหยที่ได้จากเปลือกมะนาวจำนวน 4 พันธุ์ โดยกรรมวิธีต้มกลั่นด้วยน้ำ (hydrodistillation) มีปริมาณตั้งแต่ร้อยละ 0.16 - 0.32 โดยปริมาตรต่อน้ำหนัก. จากการศึกษาองค์ประกอบหลักทางเคมีของน้ำมันมะนาวด้วยวิธีแก๊สโครมาโทกราฟี (GC) และแก๊สโครมาโทกราฟีแมสสเปกโทรเมทรี (GC/MS), พบ Linonene, a-terpineol, b-pinene, g-terpinene และ terpinolene ในระดับความเข้มข้นต่างๆ กัน. น้ำมันเปลือกมะนาวพันธุ์สีคิ้ว (SK) มีปริมาณร้อยละขององค์ประกอบที่สำคัญบางชนิดแตกต่างจากพันธุ์อื่น, และให้ผลกระตุ้นระบบประสาทส่วนกลางได้ดีที่สุดเมื่อทดสอบด้วยวิธี Open field motility test โดยการสูดดม. เมื่อนำ SK ที่ความเข้มข้น 3 ระดับ (3%, 6% และ 9%) มาทดสอบด้วยวิธีเดียวกัน, พบว่า SK ที่ระดับความเข้มข้น 3% ให้ผลกระตุ้นการเคลื่อนไหวแบบเดินข้ามช่องได้ดีที่สุด, และที่ 6% ให้ผลกระตุ้นการเคลื่อนไหว โดยการยืนด้วยเท้าหลังของหนูทดลองได้ดีที่สุด. สำหรับผลิตภัณฑ์ปรับอากาศที่มีส่วนผสมของน้ำมันมะนาว, ให้ผลกระตุ้นระบบประสาทส่วนกลางโดยให้ผลในทิศทางเดียวกันกับน้ำมันโรสแมรีที่ใช้เป็นน้ำมันควบคุมบวก. -ผู้แต่ง.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ชนิดของทรัพยากร Location Call number สถานะ Last seen Copy No. บาร์โค้ด
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 1 RP2003/1255
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 2 RP2003/1255-2

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300