ประโยชน์ของไมยราบยักษ์ : การแยกสกัดสารสกัดแสดงฤทธิ์และประโยชน์การต้านเชื้อจุลินทรีย์ = pharmaceuticals from medicinal plants: study on the antimicrobial activity of the extract of Mimosa pigra Linn / Sasithorn Wasuwat...[et al.]

ผู้แต่งร่วม: Chanchana, Chularat | Poonsiri, Chantara | Punruckvong, Acharaporn | Wannissorn, Puttarin | Wasuwat, Sasithorn | จุฬารัตน์ จันทรชนะ | อัจฉราพร พันธุ์รักส์วงศ์ | ฉันทรา พูนศิริ | พุทธรินทร์ วรรณิสสร | ศศิธร วสุวัต | Thailand Institute of Scientific and Technological Research Pharmaceuticals and Natural Products Department
Language: Thai ชื่อชุด: Res. Proj. no. 30-22/sub. No. 2 ; Rep. no. 1ข้อมูลการพิมพ์: Bangkok : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 1989 รายละเอียดตัวเล่ม: 21 p.ชื่อเรื่องอื่นๆ: Study on the antimicrobial activity of the extract of Mimosa pigra Linn | ประโยชน์ของไมยราบยักษ์ : การแยกสกัดสารสกัดแสดงฤทธิ์และประโยชน์การต้านเชื้อจุลินทรีย์หัวเรื่อง: Antimicrobial agents | Bacillus subtilis | Maiyarab-yak | Mimosa pigra | Pseudomonas aeruginosa | Salmonella brunii | Salmonella typhimurium | Trichophyton rubrumสารสนเทศออนไลน์: Click here to access full-text สาระสังเขป: Maiyarab-yak, Mimosa pigra Linn. is a native weed of Indonesia. It was brought into the northern part of Thailand for cultivation along the river banks, with an aim to prevent land sliding. It multiplied every fast, resulting as heavy weed problem, not only on the river, but also migrated to all the nearby wasteland.สาระสังเขป: The Budget Committee of the Parliament Congress requested the Pharmaceuticals and Natural Products Department of the Thailand Institute of Scientific and Technological Research (TISTR) to investigate the medicinal uses of the plant. The project, thus, was carried out and the results revealed that 50 per cent ethanol extract consisted of alkaloid (s), no steroid. It was found to possess antimicrobial, these included B. subtilis, P. aeruginosa, S. typhimurium, S. brunii and B. subtilis and a fungus T. rubrum. Authorsสาระสังเขป: ไมยราบยักษ์ เป็นวัชพืชขึ้นอยู่ตามริมน้ำของประเทศอินโดนีเซีย. ได้มีผู้นำมาปลูกในภาคเหนือของประเทศไทย โดยหวังผลจะให้เป็นพืชยึดชายน้ำ เพื่อป้องกันดินถล่ม, แต่ได้กลายเป็นวัชพืช ซึ่งระบาดอย่างรวดเร็วตามริมน้ำในภาคเหนือ และกระจายไปตามที่ดินรกร้างว่างเปล่า, คณะกรรมการรัฐสภาพิจารณางบประมาณแผ่นดินได้ขอให้ วท. ทำโครงการเร่งด่วนเพื่อศึกษาประโยชน์ทางยาของไมยราบยักษ์. ดังนั้นสาขาวิจัยอุตสาหกรรมเภสัชและผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ, สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วท.) จึงได้ดำเนินการศึกษาวิจัย และพบว่ายาสกัด 50% แอลกอฮอล์แสดงผลมี alkaloid (s) เป็นสารสำคัญ, แต่ไม่มีผลในทางเป็น steroid. การศึกษาผลการต้านจุลินทรีย์พบว่ายาผงสกัดชนิด spray dried และยาสกัด 50% แอลกอฮอล์ของยอดกลางและราก ฆ่าเชื้อ S. aureus ที่ความเข้มข้นร้อยละ 0.6 และที่ความเข้มข้นร้อยละ 5 จะฆ่าเชื้อ B. subtilis. ยาสกัด 50% แอลกอฮอล์ของส่วนรากฆ่าเชื้อ P. aeruginosa, S. typhimurium, S. brunii และ B. subtilis ได้. นอกจากนี้สารสกัด 50% ของส่วนกลางของลำต้นยังสามารถฆ่าเชื้อรา T. rubrum ได้อย่างสมบูรณ์. -ผู้แต่ง.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ชนิดของทรัพยากร Location Call number สถานะ Last seen Copy No. บาร์โค้ด
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 1 RP1989/833
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 2 RP1989/833-2

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300