การศึกษายี่หุบปลีในภาคตะวันออกเฉียงใต้ = a study on Talauma siamensis Dandy (Magnoliaceae) in Southeastern Thailand / Piya Chalermglin, Chaiwat Boonfak, Pongsak Polsena

โดย: Chalernglin, Piya
ผู้แต่งร่วม: Boonfak, Chaiwat | Polsena, Pongsak | ปิยะ เฉลิมกลิ่น | ชัยวัฒน์ บุญฟัก | พงษ์ศักดิ์ พลเสนา | Thailand Institute of Scientific and Technological Research
Language: English ชื่อชุด: Grant (E) Res. Proj. no. 42-01 ; Rep. no.1(PA)ข้อมูลการพิมพ์: Bangkok : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 2000 รายละเอียดตัวเล่ม: 16 p.ชื่อเรื่องอื่นๆ: การศึกษายี่หุบปลีในภาคตะวันออกเฉียงใต้หัวเรื่อง: Magnoliaceae | Plant propagation | Talauma siamensis | Tortricidaeสารสนเทศออนไลน์: Click here to access full-text สาระสังเขป: Talauma siamensis Dandy (Magnoliaceae) is classified as an endemic and endangered species to Thailand, due to the loss of habitat there was at least 1 insect species in the family Tortricidae that caused damage to both young fruits and young seeds leading to the low natural surviving of young seedlings. The measure of control by wrapping the young fruit with PVC bag was the most appropriate technology for protecting the fruits and seeds. The experiment also found that various asexual propagation techniques were not effective. Sexual propagation technique showed better results. The reslts from further experiment showed that culture with matured seed sas better than ovule culture in term of better characters of seedlings. -Authors.สาระสังเขป: The project entitled "A study on Talauma siamensis Dandy (Magnoliaceae) in Southeastern Thailand" was carried out in 1999 with a support by Nagao Natural Environment Foundation, Japan, with the purpose to protect the species survival.สาระสังเขป: โครงการวิจัย เรื่อง การศึกษายี่หุบปลีในภาคตะวันออกเฉียงใต้ มีระยะเวลาดำเนินการ 1 ปี ตั้งแต่ 1 มกราคม 2542 ถึง 31 ธันวาคม 2542 เพื่อหาแนวทางที่เหมาะสมในการอนุรักษ์มิให้ยี่หุบปลีสูญพันธุ์ โดยได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากกองทุนพิทักษ์สิ่งแวดล้อมนากาโอะ แห่งประเทศญี่ปุ่น.สาระสังเขป: ยี่หุบปลีเป็นพันธุ์ไม้เฉพาะถิ่นที่ใกล้จะสูญพันธุ์ของไทย อันเนื่องมากจากสภาพถิ่นกำเนิดถูกทำลายและลักษณะของวงจรชีวิตที่เปราะบาง ไม่สามารถปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไปได้. มีการศึกษาถึงการออกดอกและติดผล พบว่ามีแมลงในวงศ์ Tortricidae ที่ทำลายผลอ่อนและเมล็ดอ่อนเสียหายจำนวนมากจนกระทั่งไม่สามารถขยายพันธุ์ตามปกติได้, โดยพบต้นกล้า ขนาดเล็กอยู่ใต้ต้นแม่พันธุ์น้อยมาก. วิธีการที่เหมาะสมที่สุดในการป้องกันความเสียหาย คือ การห่อผลอ่อน จนกระทั่งผลแก่จึงนำเมล็ดมาเพาะกล้าได้. วิธีการขยายพันธุ์โดยไม่ใช้เพศแบบต่างๆ ไม่เหมาะสมต่อยี่หุบปลี. ส่วนการขยายพันธุ์โดยใช้เพศตามวิธีการเพาะเลี้ยงเมล็ดแก่ได้ผลดีกว่าการเพาะเลี้ยงเมล็ดอ่อน. - ผู้แต่ง.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ชนิดของทรัพยากร Location Call number สถานะ Last seen Copy No. บาร์โค้ด
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 1 RP2000/1098
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 2 RP2000/1098-2
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 3 RP2000/1098-3

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300