ฤทธิ์ส่งเสริมการสร้างกระดูกและยับยั้งการสลายกระดูกของพอลิแซคคาไรด์และไกลโคไซด์ในพืช = Promoting effects on osteoblast differentiation and inhibition of osteoclastogenesis of bioactive polysaccharides and glycosides in plants / Waraporn Kasekarn, Bundit Fungsin and Waraporn Sorndech (CONFIDENTIAL)
โดย: Waraporn Kasekarn, Bundit Fungsin and Waraporn Sorndech
ผู้แต่งร่วม: Waraporn Kasekarn
| Bundit Fungsin
| Waraporn Sorndech
| วราภรณ์ เกษกาญจน์
| บัณฑิต ฝั่งสินธุ์
| วราภรณ์ ศรเดช
BCG: สารสกัด TRM: สุขภาพ กลุ่มสมุนไพร Language: Thai ชื่อชุด: โครงการวิจัยที่ FS.64-07/รายงานฉบับที่ 1 (ฉบับสมบูรณ์)ข้อมูลการพิมพ์: Pathumthani : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 2565 รายละเอียดตัวเล่ม: 100 p.ชื่อเรื่องอื่นๆ: ข้อมูลสิทธิบัตร | โครงการวิจัยที่ ภ.64-41 ฤทธิ์ของสารสกัดจากฐานชีวภาพของไทยต่อการเสริมสร้างกระดูกและข้อ สำหรับสังคมก่อนและสูงวัย ในระดับหลอดทดลองสาระสังเขป: Osteoporosis is becoming a major public health problem for elderly women in many countries including Thailand. As reported, Aloe vera and Morinda citrifolia (Noni) contain several bioactive compounds such as polysaccharides, glycosides and polyphenols having pharmacological properties with antioxidant, anti-inflammatory and immuno-stimulation. This present study aimed to investigate the potential of extracts from Aloe vera and Morinda citrifolia (Noni) for the promoting effect of osteoblast differentiation in human fetal osteoblast cells (hFOB1.1.9) and inhibition of osteoclastogenesis in murine macrophage RAW264.7 cells stimulated with RANKL. Cell viability determined by MTT assay showed that all extracts did not affect cell viability in hFOB1.19 at concentrations from 0.1 to 0.8 ng/ml, while the concentration of extracts from 31.25 to 250 ng/ml did not affect the cell viability on RAW264.7 cells. The results found that all extracts can significantly increase both the cell proliferation and the level of alkaline phosphatase (ALP) activity in hFOB1.1.9 cells (p<0.005). Noni leaf extract showed the maximal cell proliferation and had the highest ALP activity. Sequentially, noni fruit extract, Aloe vera peel and Aloe vera gel extracts showed the cell proliferation and ALP activities lower than noni leaf extract, respectively. Noni leaf extract significantly up-regulated the gene expression of 4 osteogenic genes; RUNX2, COL1, ALP and OCN and increased the protein expression of RUNX2, COL1, ALP and OCN. Noni leaf extract significantly inhibited the function of tartrate-resistant acid phosphatase (TRAP) both TRAP staining and activity assay. Moreover, noni leaf extract significantly decreased the 4 osteoclastogenic genes; NFATc1, TRAP, Cathepsin K and MMP-9. Noni leaf extract also decreased the protein expression of NFATc1, inhibited the NFB signaling pathway and bone resorption. In conclusion, Morinda citrifolia (Noni) leaf extract promotes the osteoblast differentiation and inhibits the osteoclast formation. This information might be useful for the development of supplementary products for prevention or treatment of osteoporosis.สาระสังเขป: โรคกระดูกพรุน เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของสตรีสูงอายุในหลายประเทศรวมทั้งประเทศไทย มีรายงานวิจัยพบว่า ว่านหางจระเข้และยอมีองค์ประกอบของสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพเช่น พอลิแซ็กคาไรด์ ไกลโคไซด์ และพอลิฟีนอล ซึ่งมีฤทธิ์ทางเภสัชวิทยามีคุณสมบัติเป็นสารต้านอนุมูลอิสระ ต้านการอักเสบ และกระตุ้นระบบภูมิคุ้มกัน โครงการวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาฤทธิ์ส่งเสริมการเจริญพัฒนาของเซลล์สร้างกระดูกและยับยั้งกระบวนการเกิดเซลล์สลายกระดูกของ สารสกัดจากว่านหางจระเข้และยอ ประสิทธิภาพของสารสกัดจากว่านหางจระเข้และยอถูกทดสอบฤทธิ์ส่งเสริมการเจริญพัฒนาของเซลล์สร้างกระดูกโดยใช้เซลล์สร้างกระดูกของมนุษย์ชนิด hFOB1.19 และฤทธิ์ยับยั้งกระบวนการเกิดเซลล์สลายกระดูกโดยใช้เซลล์แมคโครฟาจของหนูชนิด RAW264.7 ที่ถูกชักนำด้วย RANKL อัตราการอยู่รอดของเซลล์ทดสอบด้วยเทคนิค MTT assay พบว่า สารสกัด ที่ความเข้มข้น 0.1-0.8 นาโนกรัมต่อมิลลิลิตร ไม่มีผลต่อการอยู่รอดของเซลล์ hFOB1.1.9 ในขณะที่สารสกัดที่ความเข้มข้น 31.25-250 นาโนกรัมต่อมิลลิลิตร ไม่มีผลต่อการอยู่รอดของเซลล์ RAW264.7 ผลการทดลองพบว่า สารสกัดจากว่านหางจระเข้และยอสามารถเพิ่มจำนวนของเซลล์และกิจกรรมการทำงานของเอนไซม์อัลคาไลน์ฟอสฟาเตสในเซลล์ hFOB1.1.9 ได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.005) สารสกัดจากใบยอสามารถเพิ่มจำนวนของเซลล์และระดับกิจกรรมของเอนไซม์อัลคาไลน์ฟอสฟาเตสได้สูงที่สุด รองลงมาได้แก่ สารสกัดจากผลยอ เปลือกและเจลของว่านหางจระเข้ สารสกัดจากใบยอสามารถเพิ่มการแสดงออกของยีนบ่งชี้การสร้างกระดูก 4 ชนิด ได้แก่ RUNX2, COL1, ALP และ OCN รวมทั้งสามารถเพิ่มการแสดงออกของโปรตีน RUNX2, COL1, ALP และ OCN อีกทั้ง ลดการทำงานของเอนไซม์.
ไม่มีรายการทางกายภาพสำหรับระเบียนนี้
There are no comments on this title.