การเก็บรักษาชานอ้อยโดยจุลินทรีย์ในระบบแห้ง: การทดลองหมักชานอ้อยแบบอัดเป็นก้อนขนาด 1 x 1 x 1 ลูกบาศก์เมตร = preservation of bagasse by microorganisms in dry system : fermentation test of bagasse by baling at the size 1 x 1 x 1 m / Praphaisri Somchai, likit Hanjangsit, Somchai Yagaskanong

โดย: Somchai, Praphaisri
ผู้แต่งร่วม: Hanjangsit, Likit | Yagaskanong, Somchai | สมชาย ยะกาศคะนอง | ประไพศรี สมใจ | ลิขิต หาญจางสิทธิ์ | Thailand Institute of Scientific and Technological Research Biotechnology Department
Language: Thai ชื่อชุด: Class. Invest. no. 31-10 ; Rep. no. 2 (CONFIDENTIAL)ข้อมูลการพิมพ์: Bangkok : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 1990 รายละเอียดตัวเล่ม: 33 p.ชื่อเรื่องอื่นๆ: การเก็บรักษาชานอ้อยโดยจุลินทรีย์ในระบบแห้ง: การทดลองหมักชานอ้อยแบบอัดเป็นก้อนขนาด 1 x 1 x 1 ลูกบาศก์เมตร | การทดลองหมักชานอ้อยแบบอัดเป็นก้อนขนาด 1 x 1 x 1 ลูกบาศก์เมตรหัวเรื่อง: Bagasse | Bagasse preservation | Baling | Dry system | Lactobacillus sp | Microorganismsสาระสังเขป: The experiment aimed at preserving bagasse for a period of one year by baling in wooden cage, size 1x1x1 m3. Six treatments were performed to compare the effectiveness of two kinds of chemical nutrient, i.e. 0.6% by wt. of ammonium sulphate or 0.6% by wt. of urea, being used as the nitrogen source for microorganisms. One set of treatments was inoculated with the suspension of Lactobacillus culture, while the other was not. The bales were stored under cover with well arranged ventilation. The bagasse samples were taken out at interval of 0, 6, 9 and 12 months, respectively in order to check moisture content and pH as well as evaluate the quality of bagasse fibre. The result showed that chemical nutrient encouraged rapid fermentation as indicated by fast decrease in moisture content. The quality of bagasse fibre treated with urea was more stronger than the one treated with ammonium sulphate. On the contrary, urea affected more dark colour of the stored bagasse which would be unfavorable to M.D.F. board. The inoculated culture improved the quality of bagasse fibre, however, it might not be economically feasible in bagasse handling procedure.สาระสังเขป: การทดลองหมักชานอ้อยแบบอัดก้อนในคอกไม้ระแนง 1x1x1 ลูกบาศก์เมตร มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบสารเคมีที่ใช้เป็นแหล่งอาหารไนโตรเจนสำหรับจุลินทรีย์ 2 ชนิด คือ แอมโมเนียซัลเฟต 0.6% โดยน้ำหนัก และยูเรีย 0.6% โดยน้ำหนัก, และเปรียบเทียบการใส่หรือไม่ใส่เชื้อจุลินทรีย์ Lactobacillus sp. ในชานอ้อย. การทดลองมี 6 treatment. ชานอ้อยได้ถูกเก็บรักษาไว้ภายใต้เต้นท์ผ้าใบ เป็นระยะเวลา 12 เดือน. ตรวจวัดค่า pH, ความชื้น และประเมินคุณภาพเส้นใยของชานอ้อยที่มีอายุการเก็บนาน 0, 6, 9 และ 12 เดือน ตามลำดับ. ผลการทดลองพบว่า การใส่สารเคมีในชานอ้อยจะช่วยให้การหมักเกิดเร็วขึ้น ทำให้ความชื้นลดลงรวดเร็วกว่าการไม่ใส่สารเคมี. การใช้ยูเรียมีผลทำให้คุณภาพเส้นใยของชานอ้อยแข็งแรงกว่าการใช้แอมโมเนียซัลเฟต, แต่ยูเรียจะทำให้สีชานอ้อยคล้ำกว่า ซึ่งจะมีผลกระทบต่อคุณภาพของผลิตภัณฑ์ไม้อัด เอ็ม.ดี.เอฟ. บอร็ด. การใส่จุลินทรีย์ถึงแม้จะทำให้คุณภาพเส้นใยของชานอ้อยแข็งแรงกว่าการไม่ใส่จุลินทรีย์ แต่เป็นการเพิ่มค่าใช้จ่ายในการเก็บรักษาชานอ้อย.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ชนิดของทรัพยากร Location Call number สถานะ Last seen Copy No. บาร์โค้ด
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 1 RP1990/845-2

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300