การจำแนกและประเมินสารสำคัญในพืชสกุลกัญชาเพื่อการปรับปรุงพันธุ์ที่เหมาะสม = Identification and evaluation of active substances in cannabis spp. for breeding / Anan Piriyaphattarakit [et al.]

โดย: Anan Piriyaphattarakit
ผู้แต่งร่วม: Anan Piriyaphattarakit | Ponkamon Ruplort | Patcharee Dechlay | อนันต์ พิริยะภัทรกิจ | พรกมล รูปเลิศ | พัชรี เดชเลย์
BCG: เกษตรปลอดภัย TRM: นวัตกรรมการเกษตร ข้อมูลการพิมพ์: Pathumthani : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 2025 รายละเอียดตัวเล่ม: 80 p. : tables, ill. ; 30 cm.ชื่อเรื่องอื่นๆ: รหัสโครงการ : 6618201031หัวเรื่อง: กัญชา | การปรับปรุงพันธุ์ | สารสำคัญสาระสังเขป: According to the study of the morphological characteristics of various cannabis strains, it was observed that cannabis cultivation in different regions led to distinct differences in leaf, canopy, and flower traits. These differences encompassed plant height, canopy shape, and the yield of female flowers. Notably, some strains exhibited a robust, bushy growth form that displayed resilience against external environmental conditions. Furthermore, the study focused on popular high-yield strains, namely "Skunk cannabis" and "Lion's Tail Cannabis." These strains were cultivated under controlled and fertilized conditions, utilizing Osmocote and urea. The results clearly demonstrated that the application of Osmocote fertilizer significantly enhanced the growth of both strains, with the highest average growth values achieved. As a result, Osmocote fertilizer emerged as the most effective choice for promoting the growth of both "Lion's Tail" and "Mountainous Skunk" cannabis strains. Moreover, the influence of light conditions on the growth of each strain was evident. Mixed-spectrum artificial light was found to augment growth when compared to natural conditions. Additionally, a noteworthy finding was that cannabis cultivation during the winter period (September to December) led to faster flowering in comparison to the hotter seasons. Analyses of Tetrahydrocannabinol (THC) levels indicated a higher THC content in the "Lion's Tail" strain, whereas the "Mountainous Skunk" strain exhibited a more pronounced presence of Cannabidiol (CBD)สาระสังเขป: จากการศึกษาการข้อมูลและลักษณะทางสัณฐานวิทยาของกัญชาสายพันธุ์ต่างๆ พบว่า กัญชาที่มีการปลูกเลี้ยงในแต่ละพื้นที่มีลักษณะใบ ทรงพุ่ม และดอกแตกต่างกัน ในด้านความสูงต้น ทรงพุ่ม การให้ผลผลิตดอกตัวเมีย ซึ่งบางสายพันธุ์จะมีลักษณะทรงพุ่มใหญ่ทนต่อสภาพแวดล้อมภายนอก นอกจากนี้ยังพบว่า สายพันธุ์ที่นิยมปลูกเลี้ยงและให้ผลผลิตสูง ได้แก่ สายพันธุ์หางกระรอก และสายพันธุ์หางเสือ เมื่อทำการรวบรวมสายพันธุ์และทำการทดลองปลูกเลี้ยง เก็บข้อมูลการเจริญเติบโตของกัญชาพันธุ์หางเสือและหางกระรอกภูพานที่ไม่ใส่ปุ๋ย (ควบคุม) ใส่ปุ๋ยออสโมโค้ท และปุ๋ยยูเรีย พบว่าการใส่ปุ๋ยออสโมโค้ทมีผลต่อการเจริญเติบโตของกัญชาทั้ง 2 สายพันธุ์ มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด ดังนั้น การใส่ปุ๋ยออสโมโค้ทเหมาะสมที่สุดต่อการเจริญเติบโตของกัญชาพันธุ์หางเสือ และหางกระรอกภูพาน นอกจากนี้ยังพบว่าอิทธิพลของแสง มีผลต่อการเจริญเติบโตของกัญชาแต่ละสายพันธุ์ โดยแสงเทียมสีผสม สามารถช่วยให้ต้นกัญชามีการเจริญเติบโตได้ดีกว่าการปลูกเลี้ยงแบบธรรมชาติ รวมทั้งการให้ผลผลิตดอกในช่วงฤดูปลูก พบว่า ในการปลูกกัญชา ในช่วงเดือนกันยายน – ธันวาคม ซึ่งเป็นฤดูหนาว กัญชาจะให้ผลผลิตดอกเร็วกว่าช่วงฤดูร้อน เมื่อวิเคราะห์ปริมาณสาร Tetrahydrocannabinol (THC) พบว่า กัญชาสายพันธุ์หางเสือมีปริมาณสาร THC มากกว่าสายพันธุ์อื่นๆ ในขณะที่สาร Cannabidiol (CBD) พบในกัญชาสายพันธุ์หางกระรอกภูพานมากกว่าสายพันธุ์อื่นๆ
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ไม่มีรายการทางกายภาพสำหรับระเบียนนี้

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300