การปรับปรุงกระบวนการผลิตน้ำตาลทรายจากอ้อยและคุณภาพกากน้ำตาลโดยวิธีทางเทคโนโลยีชีวภาพ = improvement of cane sugar processing and molasses quality by biotechnological approach / Pree cha Roongkae...[et al.]

ผู้แต่งร่วม: Arunpairojana, Vullapa | Bumrungsuk, Prasit | Chaibenjawong, Plykaeow | Palakawong Na Ayudthaya, Susakul | Pinsem, Tam | Roongkae, Preecha | Rungsin, Bundit | Sithisam-ang, Damrongchai | Srinorakutara, Teerapatr | Suttivattanavet, Wannee | พลายแก้ว ไชยเบญจวงศ์ | ประสิทธิ์ บำรุงสุข | สุสกุล ปาลกะวงศ์ ณ อยุธยา | แถม ปิ่นเสม | บัณฑิต ฝั่งสินธุ์ | ปรีชา รุ่งแกร | ธีรภัทร ศรีนรคุตร | ดำรงชัย สิทธิสำอางค์ | วรรณี สุทธิวัฒนเวช | วัลลภา อรุณไพโรจน์ | Thailand Institute of Scientific and Technological Research Biotechnology Department
Language: Thai ชื่อชุด: Res. Proj. no. 37-11 ; Rep. no.1ข้อมูลการพิมพ์: Bangkok : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 1999 รายละเอียดตัวเล่ม: 41 p.ชื่อเรื่องอื่นๆ: การปรับปรุงกระบวนการผลิตน้ำตาลทรายจากอ้อยและคุณภาพกากน้ำตาลโดยวิธีทางเทคโนโลยีชีวภาพหัวเรื่อง: Biotechnology | Dextran | Dextranase | Enzymes | Microorganisms | Molasses | Penicillium pinophilum | sugar cane | Ultrafiltration | เดกซ์แตรนเนส | เทคโนโลยีชีวภาพ | เอนไซม์ | กากน้ำตาล | อุตสาหกรรมน้ำตาลอ้อยสารสนเทศออนไลน์: Click here to access full-text สาระสังเขป: Application of 6.6 ml per litre partial purified and concentrated dextranase into raw syrup containing contaminated dextran 1.45 g at the crystallization step yielded 306 - 314.6 g to sugar crystals per litre of raw syrup while crystallization without application of dextranase yielded 206.0 - 225.8 grams per litre of raw syrup. Furthermore, viscosity of molasses also decreased from 6.76 to 2.9 - 3.7 cps after the contaminated dextran was removed in the same treatment from the process. Results showed that the presence of dextran in raw syrup affected raw sugar processing and quality. Application of dextranase in a sugar industry could improve the yield by 43.5 percent and at the same time could improve molasses quality. Authorsสาระสังเขป: Dextranase-producing microorganisms were screened from soils sampling from sugar cane growing fields, sugar industry cane juices and from a list of microorganisms available at Microbiological Resources Centre (Bangkok MIRCEN), Thailand Institute of Scientific and Technological Research (TISTR). Upon induction by 1 percent dextran (MW. 5-40 x 10 ) under the growth condition of 30 degree celsius and pH 5-6, Penicillium pinophilum TISTR 3386 produced dextranse with the highest activity of 45 to 53 units per ml and 19 to 22 units per ml of cultured medium in a flask culture and in a fermenter at a higher scale production after 6 to 7 days incubation respectively.สาระสังเขป: Partial purified and concentrated dextranase of P. pinophilum TISTR 3386 produced by ultrafiltration system showed dextranse activity of 191.5 - 221.5 units per ml. Addition of the partial purified and concentrated dextranase to the sugar industry mixed cane juice and raw syrup at the concentration of 1 and 3 ml per litre gave a marked reduction of dextran 0.36 and 1.08 grams per litre in 15 to 30 minutes respectively.สาระสังเขป: Twenty one samples of sugar industry cane juices and syrup were collected from 10 sugar factories located in different regions of Thailand. Dextran concentrations detected in these samples ranged from 0.14 to 1.45 grams per litre.Review: ในการคัดเลือกจุลินทรีย์ที่มีประสิทธิภาพสูงสุดในการผลิตเอนไซม์เดกซ์แตรนเนสจากตัวอย่างที่แยกจากดิน, น้ำอ้อย, และสายพันธุ์ที่เก็บรักษา ณ ศูนย์จุลินทรีย์ วท. พบว่า Penicillium pinophilum TISTR 3386 มีประสิทธิภาพในการผลิตเอนไซม์สูงสุด, โดยมีสภาวะที่เหมาะสมในการผลิตเอนไซม์เมื่อเลี้ยงในอาหารที่มีแดกซ์แตรนน้ำหนักโมเลกุล 5 ถึง 40 x 106, ความเข้มข้น 1.0 เปอร์เซ็นต์, ความเป็นกรด-ด่างที่ 5 ถึง 6, อุณหภูมิ 30 องศาเซลเซียส. ภายใต้สภาวะที่เหมาะสมนี้ จุลินทรีย์สายพันธุ์ TISTR 3386 สามารถผลิตเอนไซม์ได้สูงสุดถึง 45 ถึง 53 และ 19 ถึง 22 หน่วยต่อมิลลิลิตร ของน้ำเลี้ยงเชื้อภายในวันที่ 6 ถึง 7 ของการเลี้ยงเชื้อในการผลิตระดับห้องปฏิบัติการและระดับกึ่งอุตสาหกรรมสาธิตตามลำดับ.Review: จากการทดลองการตกผลึกของน้ำตาลในน้ำเชื่อมดิบที่มีเดกซ์แตรนปนเปื้อน 1.45 กรัม พบว่าการเติมแอนไซม์ในปริมาณ 6.6 มิลลิลิตรต่อลิตร ช่วยให้เกิดการตกผลคกทันที และมีการเกิดผลึกมากขึ้น โดยมีน้ำหนักน้กตาลทรายระหว่าง 306.2 ถึง 314.6 กรัมต่อลิตร ในขณะที่ไม่เติมเอนไซม์ให้ผลึกน้ำตาลทรายระหว่าง 206.3 ถึง 225.8 กรัมต่อลิตร หรือคิดเป็นผลผลิตเพิ่มขึ้นร้อยละ 43.5 ในขณะเดียวกันสามารถลดความหนืดของกากน้ำตาลอันการจากการปนเปื้อนของเดกซ์แตรน จาก 6.76 เซนติพอยต์ เป็น 2.9 ถึง 3.7 เซนติพอยต์ ซึ่งเป็นการเพิ่มคุณภาพของกากน้ำตาล.Review: ทำการเตรียมเอนไซม์เดกซ์แตรนเนสบริสุทธิ์บางส่วนและเข้มข้นของสายพันธุ์คัดเลือก Penicillium pinophilum TISTR 3386 โดยวิธี ultrafiltration ได้เอนไซม์ที่มีกิจกรรม 191.5 ถึง 221.5 หน่วยต่อมิลลิลิตร. และเมื่อตรวจสอบประสิทธิภาพการทำงานของเอนไซม์เดกซ์แตรนเนสบริสุทธิ์บางส่วนและเข้มข้นในสภาวะที่เหมาะสมของกระบวนการผลิตน้ำตาลทราย พบว่าสามารถทำลายเดกซ์แตรนที่ปนเปื้อนในตัวอย่างน้ำอ้อยรวม (mixed juice) และน้ำเชื่อมดิบ (raw syrup) โดยเมื่อเติมเอนไซม์เข้มข้นในปริมาณ 1 ถึง 3 มิลลิลิตรต่อลิตร สามารถทำลายเดกซ์แตรนได้ระหว่าง 0.36 ถึง 1.08 กรัมต่อลิตรในเวลา 15 ถึง 30 นาที ตามลำดับ.Review: ทำการสำรวจและเก็บตัวอย่างน้ำอ้อยและน้ำเชื่อมจำนวน 21 ตัวอย่าง จากโรงงานอุตสาหกรรมผลิตน้ำตาลทรายที่ตั้งอยู่ในภาคต่างๆ ของประเทศ จำนวน 10 โรง พบว่ามีปริมาณเดกซ์แตรนปนเปื้อนอยู่ในปริมาณ 0.14 ถึง 1.45 กรัมต่อลิตร.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ชนิดของทรัพยากร Location Call number สถานะ Last seen Copy No. บาร์โค้ด
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 1 RP1999/1065
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2019-10-03 2 RP1999/1065-2

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300