การวิจัยและพัฒนาการผลิตปุ๋ยชีวภาพ ปุ๋ยอินทรีย์ดินค่ำและวัสดุปรับปรุงดินจากวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเกษตร = product development of biofertilizers, night soil and soil conditioners from agro-industrial wastes / Pongtep Antarikanonda...[et al.]

ผู้แต่งร่วม: Antarikanonda, Pongtep | Singhtho, Siritham | Sinsawat, Sayam | Visutthipat, Rachain | ราเชนทร์ วิสุทธิแพทย์ | ศิริธรรม สิงห์โต | สยาม สินสวัสดิ์ | พงศ์เทพ อันตะริกานนท์ | Thailand Institute of Scientific and Technological Research
Language: Thai ชื่อชุด: Res. Proj. no. 43-08 ; Rep. no. 1ข้อมูลการพิมพ์: Bangkok : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 2002. รายละเอียดตัวเล่ม: 77 p. : ill., tablesชื่อเรื่องอื่นๆ: การวิจัยและพัฒนาการผลิตปุ๋ยชีวภาพ ปุ๋ยอินทรีย์ดินค่ำและวัสดุปรับปรุงดินจากวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเกษตรหัวเรื่อง: Agricultural industries | Agricultural wastes | Biofertilizers | Night soil | Organic manures | Soil conditioners | Vegetables | ของเสียทางการเกษตร | ปุ๋ยชีวภาพ | ปุ๋ยอินทรีย์ | ปุ๋ยอินทรีย์ดินค่ำ | วัสดุปรับปรุงดินสารสนเทศออนไลน์: Click here to access full-text สาระสังเขป: For an experiment of night soil fertilizer produced by combining compost from agricultural waste with treated night soil, utilization of night soil ferilizer at 500 kg/rai (NS) and 1/2 F (10 kg/rai) + NS could increase the growth of Chinese cabbage the same as using 1F (20 kg/rai) for height, size of shrub and wet weight, bacause night soil fertilizer contains 10-13 percent of nitrogen by dry weight.สาระสังเขป: Furthermore, in utilizing soil-improved material from agricultural waste for cultivation, it has been found that the use of TISTR's organic manure of 500 kg/rai combined with chemical fertilized of 16-16-8 formula at 25 kg/rai could produce rice product nearly the same as using chemical fertilizer of 16-16-8 formula at 50 kg/rai. Moreover, TISTR's organic manure could increase organic matter in soil after cultivation and could increase the weights of rice plant and grain. Thus. utilization of biofertilizer, night soil fertilizer and soil-improved material from agricultural waste could replace or decrease the quantity of chemical fertilizer usage. Moreover, agriculturist could decrease production cost and also improve quality of soil. Nevertheless, in using organic fertilizers one should consider the type and quantity of nutritional value in them in order to determine the quentity and interval of fertilizer usage for suitable plant cultivation. - Authors.สาระสังเขป: In biofertilizer usage with vegetable cultivation, utilization of liquid biofertilizer from residual vegetable at 40 ml per 20 1(BE) of water and 15 kg/rai of chemical fertilizer (1/2 F) combined with BE of water (1/2 F + BE) could increase the growth of cucumber and Chinese cabbage. The results are similar to the one with 30 kg/rai of chemical fertilizer (1F) for both greenhouse and cultivated plot scale. These results are also similar to the utilization of liquid biofertilizer from fish. Furthermore, biofertilizer from blue-green algae combined with chemical fertilizer usage could replace the use of certain amount of nitrogen fertilizer in rice cultivation, which provides nearly the same amount of product when using chemical fertilizer alone.สาระสังเขป: จากการทดลองใช้ปุ๋ยชีวภาพชนิดต่าง ๆ กับพืชหลายชนิดพบว่า การใช้ปุ๋ยชีวภาพชนิดน้ำจากพืชผัก 40 มล./20 ล. (BE) และ การใส่ปุ๋ยเคมี 15 กก./ไร่ (1/2F) ร่วมกับ BE (1/2F + BE) มีผลทำให้แตงกวา และผักกาดขาวเจริญเติบโตได้ใกล้เคียงกับการใส่ปุ๋ยเคมี 30 กก./ไร่ (IF) ทั้งในระดับการปลูกในกระถางและแปลงทดลอง. ซึ่งผลการทดลองนี้สอดคล้องกับการใช้ปุ๋ยชีวภาพชนิดน้ำจากปลา. สำหรับการใช้ปุ๋ยชีวภาพจากสาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงินร่วมกับปุ๋ยเตมีสามารถทดแทนการใช้ปุ๋ยไนโตรเจนในการผลิตข้าวได้บางส่วน โดยให้ผลผลิตใกล้เคียงกับการใช้ปุ๋ยเคมีเพียงอย่างเดียว.สาระสังเขป: นอกจากนี้การทดลองใช้วัสดุปรับปรุงดินช่วยเสริมในการปลูกพืช พบว่าการใส่ปุ๋ยหมัก วท. 250 กก./ไร่ ร่วมกับ ใส่ปุ๋ยเคมีสูตร 16-16-8.25 กก./ไร่ มีผลทำให้ได้ผลผลิตข้าวใกล้เคียงกันกับการใส่ปุ๋ยเคมีสูตร 16-16-8.50 กก./ไร่ ในอัตราเดียวกัน, แต่ทำให้ปริมาณอินทรียวัตถุในดินหลังการปลูกข้าวเพิ่มขึ้น และยังทำให้น้ำหนักของต้นและเมล็ดข้าวเพิ่มสูงขึ้นเมื่อเทียบกับชุดควบคุม. ดังนั้นจึงเห็นได้ว่าการใช้ปุ๋ยชีวภาพ, ปุ๋ยอินทรีย์ดินค่ำและวัสดุปรับปรุงดินจากวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตร สามารถทดแทน หรือลดปริมาณการใช้ปุ๋ยเคมีได้ ซึ่งส่งผลให้เกษตรกรมีต้นทุนการผลิตที่ต่ำลงและยังช่วยปรับปรุงคุณภาพดินให้ดีขึ้นด้วย. อย่างไรก็ตามการใช้ปุ๋ยอินทรีย์เหล่านี้ต้องคำนึงถึงชนิดและปริมาณของธาตุอาหารต่าง ๆ ในปุ๋ย เพื่อที่จะสามารถกำหนดอัตราส่วน, ปริมาณการใช้และช่วงระยะเวลาในการใส่ปุ๋ย ให้เหมาะสมกับความต้องการของพืช.สาระสังเขป: สำหรับการทดลองใช้ปุ๋ยอินทรีย์ดินค่ำซึ่งได้มาจากการผสมปุ๋ยอินทรีย์หมักแห้งจากวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรกับสิ่งปฏิกูลที่ผ่านการปรับสภาพแล้ว กับผักกาดขาวปลี, พบว่าการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ดินค่ำ 500 กก./ไร่ (NS) และ 1/2 F (10 กก./ไร่) ร่วมกับ NS (1/2 F + NS) มีผลทำให้ผักกาดขาวเจริญเติบโตได้ใกล้เคียงกับการใส่ปุ๋ยเคมี 20 กก./ไร่ (IF) ทั้งในด้านความสูง, ขนาดทรงพุ่มและน้ำหนักสด ซึ่งเป็นเพราะว่าปุ๋ยอินทรีย์ดินค่ำมีปริมาณไนโตรเจน สูงถึง 10-13% โดยน้ำหนักแห้ง.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ชนิดของทรัพยากร Location Call number สถานะ Last seen Copy No. บาร์โค้ด
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 1 RP2002/1186
General Book
วว. เทคโนธานี
Checked out 2018-11-12 2 RP2002/1186-2

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300