การใช้ประโยชน์ของน้ำมันปาล์มแปรรูป : ตัวแปรที่มีผลต่อการสังเคราะห์สารเอสเตอร์จากน้ำมันปาล์มสเตียรีน = diversification of palm oil : factors affecting on the synthesis of fatty esters from palm stearine / Peesamai Jenvanitpanjakul...[et al.]

ผู้แต่งร่วม: Jenvanitpanjakul, Peesamai | Munsakul, Supatra | Onpuckdee, Prachun | Prachasri, Tanase | Runghirunruk, Kanita | Srikumlaithong, Sumalai | พิศมัย เจนวนิชปัญจกุล | ประชาศรี, ธเนศ | สุภัทรา มั่นสกุล | คณิตา รุ่งหิรัญรักษ์ | สุมาลัย ศรีกำไลทอง | ประชัน อ่อนภักดี | Thailand Institute of Scientific and Technological Research Chemical Industry Department Fat & Oils Lab
Language: Thai ชื่อชุด: Res. Proj. no. 29-15 ; Rep. no. 3ข้อมูลการพิมพ์: Bangkok : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 1990 รายละเอียดตัวเล่ม: 31 p.ชื่อเรื่องอื่นๆ: Factors affecting on the synthesis of fatty esters from palm stearine | การใช้ประโยชน์ของน้ำมันปาล์มแปรรูป: ตัวแปรที่มีผลต่อการสังเคราะห์สารเอสเตอร์จากน้ำมันปาล์มสเตียรีน | ตัวแปรที่มีผลต่อการสังเคราะห์สารเอสเตอร์จากน้ำมันปาล์มสเตียรีนหัวเรื่อง: Fatty esters | Isopropyl palmitate | Palm oil | Palm stearine | Transesterificationสารสนเทศออนไลน์: Click here to access full-text สาระสังเขป: In addition, isopropyl palmitate (IPP) was fractionally distilled from esters by molecular still. The fatty acid composition of the distilled isopropyl palmitate was as follows: C 12:0, C 14:0, C 16:0, C 18:0, C 18:1 and C 18:2 1.8, 2.1, 80.9, 0.5, 12.9 and 1.8 respectively. Authorsสาระสังเขป: The reaction rate using alkali catalyst involves several limited factors. Consequently, transesterification in a semi pilot scale was conducted by using acid catalyst. Considered from that of laboratory scale which gave highest yield, the reaction conditions were 32:1 molar ratio, 9-11 percent of H SO and 8-10 h reaction time. Results from both scale were similar.สาระสังเขป: Transesterification between palm stearine and isopropyl alcohol has been carried out in the laboratory. Factors affecting on the yields and purity of the fatty esters were examined. The factors were type and amount of catalyst; molar ratio between alcohol and palm stearine; and reaction time. The reaction using sodium methoxide as catalyst gave higher yield than using acid catalyst, and that product also contained less impurities.สาระสังเขป: การใช้ด่างเป็นสารเร่งปฏิกิริยา มีข้อจำกัดหลายประการต่อความไวของปฏิกิริยา ดังนั้นในการทดลองระดับกึ่งโรงงานนำทาง จึงใช้กรดเป็นสารเร่งปฏิกิริยา โดยใช้สภาวะการทดลองที่ได้ คัดเลือก จากการทดลองในห้องปฏิบัติการที่ผลิตเอสเตอร์ได้ปริมาณและมีความบริสุทธิ์สูง. สภาวะที่ใช้คือ อัตราส่วนโมลาร์ระหว่างแอลกอฮอล์กับน้ำมันปาล์มสเตียรีน 32:1, ปริมาณกรดซัลฟิวริกร้อยละ 9-11 และเวลาในการทำปฏิกิริยา 8-10 ชั่วโมง, ผลจากการทดลองทั้งสองระดับได้ผลคล้ายคลึงกัน.สาระสังเขป: การสังเคราะห์ สารไอโซโพรพิลเอสเตอร์จากน้ำมันปาล์มสเตียรีนในห้องปฏิบัติการได้ศึกษาตัวแปรที่มีผลต่อปริมาณและคุณภาพของสารเอสเตอร์ที่ได้. ตัวแปรที่ศึกษาได้แก่ ชนิดและปริมาณของสารเร่งปฏิกิริยา, อัตราส่วนโมลาร์ระหว่างแอลกอฮอล์กับน้ำมัน และเวลาที่ทำปฏิกิริยา การใช้ด่างชนิด โซเดียม alkoxide เป็นสารเร่งปฏิกิริยาได้สารเอสเตอร์ในปริมาณสูงและมีสารเร่งปฏิกิริยา.สาระสังเขป: นอกจากนั้นแล้ว ได้ทำการกลั่นแยกส่วนสารเอสเตอร์และกลั่นให้ได้ สารไอโซโพรพิลปาล์มมิเตท (IPP) โดยใช้เครื่องกลั่นแยกโมเลกุล (molecular still) ได้สารที่มีองค์ประกอบกรดไขมันดังนี้ : C<12:0, C 14:0, C 16:0, C 18:0, C 18:1 และ C 18:2 คือ 1.8, 2.1, 80.9, 0.5, 12.9 และ 1.8 ตามลำดับ. -ผู้แต่ง.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ชนิดของทรัพยากร Location Call number สถานะ Last seen Copy No. บาร์โค้ด
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 1 RP1990/849
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 2 RP1990/849-2

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300