การหาอัตราส่วนและสภาพที่เหมาะสมของน้ำยาที่ใช้ในการต้มเยื่อ = cooking conditions and liquor ratios for bagasse magnefite pulp / Naiyana Niyomwan...[et al.]

ผู้แต่งร่วม: Kamolratanakul, Anchalee | Niyomwan, Naiyana | Opanonamata, Wattana | Suvachittanont, Sirikalaya | วัฒนา โอภานนท์อมตะ | อัญชลี กมลรัตนกุล | นัยนา นิยมวัน | ศิริกัลยา สุวจิตตานนท์ | Thailand Institute of Scientific and Technological Research
Language: Thai ชื่อชุด: Res. Proj. no. 21-26 ; Rep. no. 1ข้อมูลการพิมพ์: Bangkok : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 1979 รายละเอียดตัวเล่ม: 7 p.ชื่อเรื่องอื่นๆ: การหาอัตราส่วนและสภาพที่เหมาะสมของน้ำยาที่ใช้ในการต้มเยื่อหัวเรื่อง: Bagasse | Magnesium bisulphite pulping | Pulpsสารสนเทศออนไลน์: Click here to access full-text สาระสังเขป: Magnesium bisulphite pulping of depithed bagasse with 10, 12 and 14 per cent of SO , liquor ratio of 4:1 and 6:1 were experimented on two types of cooking temperatures. One type was two stage cooking with raising the temperature to 110 degree celsius within 45 minutes and keeping at this temperature for 1 hour at first stage; at second stage the temperature was raised from 110 degree celsius to 150 degree celsius in 1 hour and kept constand at this temperatures for 3 hours. This type gave the average pulp yield of 47 per cent and the average permanganate number of 36.5. Another type of cooking temperature was single stage cooking, the temperature was raised through 150 degree celsius in 1 hour and kept constant at this maximum temperature for 3 hours. The average pulp yield of single stage cooking was 60 per cent, the permanganate number was 40. Pulp obtained from the experiments had low value in freeness. The physical properties of handsheets were tested. The results were as follows:- average breaking length 3,000 metre; average burst factor 13; tear factor varied from 22 to 226, depending on conditions of cooking; folding endurance of all pulps were very low under 2. Authorsสาระสังเขป: ทดลองผลิตกระดาษด้วยน้ำยา magnesium bisulphite ที่ปริมาณ SO2 ร้อยละ 10, 12 และ 14 และอัตราส่วนน้ำยาต่อวัตถุดิบ 41:1 และ 6:1. อุณหภูมิที่ใช้ในการต้มเยื่อแบ่งเป็น 2 แบบ, คือเพิ่มอุณหภูมิเป็น 2 ระยะ และต้มรวดเดียวที่อุณหภูมิหนึ่ง. แบบที่เพิ่มอุณหภูมิ 2 ระยะกระทำโดยค่อย ๆ เพิ่มอุณหภูมิเป็น 110 องศาเซลเซียส ในเวลา 45 นาที แล้วรักษาให้คงที่ไว้ที่ 110 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 1 ชั่วโมง, จึงค่อย ๆ เพิ่มอุณหภูมิเป็น 150 องศาเซลเซียส และรักษาไว้ให้คงที่เป็นเวลา 3 ชั่วโมง. โดยวิธีนี้ได้ผลผลิตเยื่อเฉลี่ย 47% และเยื่อมีค่า permanganate number 36.5. แบบที่เพิ่มอุณหภูมิรวดเดียวเป็น 150 องศาเซลเซียส ในระยะเวลา 1 ชั่วโมง แล้วรักษาให้คงไว้เป็นเวลา 3 ชี่วโมง ให้ผลผลิตเยื่อ 60% และเยื่อมีค่า permanganate number 40. เยื่อที่ผลิตได้มีค่า freeness ค่อนข้างต่ำ. การทำแผ่นทดสอบคุณสมบัติทางฟิสิกส์จากเยื่อไม่ฟอก ใช้น้ำหนักมาตรฐาน โดยเฉลี่ย 60 กรัมต่อตารางเมตรได้ค่า breaking length 3,000 เมตร, burst factor 13, tear factor มีตั้งแต่ 22 ถึง 226 ขึ้นกับสภาพของการต้มเยื่อ. แต่ค่า folding endurance ของเยื่อทุกตัวอย่างต่ำมากไม่เกิน 2. - ผู้แต่ง.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ชนิดของทรัพยากร Location Call number สถานะ Last seen Copy No. บาร์โค้ด
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 1 RP1979/505
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 2 RP1979/505-2

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300