วิจัยและพัฒนาสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพจากจุลินทรีย์เป็นอาหารเสริมสุขภาพลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคอัลไซเมอร์ = research and development of bioactive compounds from microorganisms as dietary supplement reducing alzheimer risk / Vullapa Arunpairojana...[et al.]

ผู้แต่งร่วม: Akkharawit Kanjana-Opas | Lawan Chatanon | Pornpoj Srisukchayakul | Susakul Palakawong Na Ayudthaya | Vullapa Arunpairojana | พรพจน์ ศรีสุขชยะกุล | ลาวัลย์ ชตานนท์ | วัลลภา อรุณไพโรจน์ | สุสกุล ปาลกะวงศ์ ณ อยุธยา | อัครวิทย์ กาญจนโอภาษ | Thailand Institute of Scientific and Technological Research
Language: Thai ชื่อชุด: Res. Proj. no. 50-03 ; Rep. no. 1 (Final report) (CONFIDENTIAL)ข้อมูลการพิมพ์: Bangkok : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 2011 รายละเอียดตัวเล่ม: ฌ, 93 p.: tables., ill ; 30 cm.ชื่อเรื่องอื่นๆ: วิจัยและพัฒนาสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพจากจุลินทรีย์เป็นอาหารเสริมสุขภาพลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคอัลไซเมอร์หัวเรื่อง: Acethylcholine | Acetylcholinesterase | Acetylcholinesterase inhibitory activity | Alzheimer | Antimicrobial activities | Bacteria | Bioassay guided fractionation | Cytotoxic activity | Dietary supplements | Marinoquinoline A | Neurodegenerative disorder | Rapidithrix thailandica | แบคทีเรีย | โรคสมองเสื่อม | ไกลดิงแบคทีเรีย | จุลินทรีย์ | สารออกฤทธิ์ทางชีวภาพ | อัลไซเมอร์ | อาหารเสริมสาระสังเขป: Alzheimer's disease (AD) is one of most common forms of dementia. Although the cause and progression of AD have not yet been clearly known, research studies indicate that AD associates with the reduction of acethylcholine (ACh) in the brain. Acetylcholinesterase (AChE) inhibitors such as donepezil, galantamine, and rivastigmine, which inhibit the break down of ACh, have been used as drugs to prevent the loss of congitive function in AD. However, the side effects of such drug are nausea and vomiting, several bioactive compounds which exhibit AChE inhibitor activity from natural resources have been developed as candidate drugs for prevention and reduction of these symptoms.สาระสังเขป: Approximately 90 samples of marine gliding bacterial extracts were investigated for acetylcholinesterase inhibitory activity. It was found that there were 7 extracts with >70 % acetylcholinesterase inhibition. Marine gliding bacterial strains TISTR 1710 and TISTR 1742 were selected for further investigation due to their high production of AChE inhibitor compounds. Both strains were identified as Gramnegative bacteria with long filament. The optimal NaCl concentration for growth was 2-3% while the optimal temperature was at 30 degree celsies. The complete identification of them was performed based on polyphasic approach of bacterial classification. The results showed that they belong to the novel genera and novel species, Rapidithrix thailandica. The separation of bioactive compound from the strain TISTR 1742, cultured in skim milk medium using bioassay guided fractionation led to the isolation of colourless needle-shaped single crystals. The structure of such compound was elucidated by spectroscopic methods together with an X-ray crystallography technique. A novel compound, marinoquinoline A (4- methyl-3 H - pyrrolo [2,3-c] quinoline) with the molecular formula of C12H10N2 was proposed. The isolation of bioactive compounds from the strain TISTR 1710 was carried out by the same methods. Based on the proton spectrum, the bioactive compound was also identified as Marinoquinoline A. Interestingly, Marinoquinoline A not only showed significant acetylcholinesterase inhibitory activity with as IC50 value of 4.9 µM, but it also showed no cytotoxicity against four human cell lines such as breast adenocarcinorma (MCF-7), human colon adenocarcinoma (HT-29), human cervix carcinoma (Hela) and human mouth epidermoid carcinoma (KB). Moreover, marinoquinoline A showed positive result in anti-bacterial test even it its efficiency was less than the commercial antibiotics. In terms of anti-yeast activity, marinoquinoline A revealed positive effect with dose close to amphotericin B, a commercial antibiotic. Nevertheless, marinoquinoline A showed only weak antifungal activity against filamentous fungi. Based on its biological activity, it could therefore potentially be developed as an acetylcholinesterase inhibitor or durg for treatment of AD. - Authors.สาระสังเขป: The objectives of this study were to isolate and select marine gliding bacteria with acetylcholinesterase inhibitory activity, antimicrobial activity, and cytotoxic activity, to optimize cultivation, and to develop the purification and characterization process of bioactive compound for using as dietary supplement reducing Alzheimer risk.สาระสังเขป: จากการศึกษาข้างต้นจึงสรุปได้ว่า marinoquinoline A ที่ผลิตโดยดิงแบคทีเรียที่คัดแยกได้จากทะเลมีศักยภาพในการพัฒนาเป็นยารักษาโรคอัลไซเมอร์ต่อไป. - ผู้แต่งสาระสังเขป: อัลไซเมอร์เป็นโรคสมองเสื่อมชนิดหนึ่งที่พบได้บ่อยที่สุด โดยพยาธิสภาพและกลไกการเกิดโรคอัลไซเมอร์นั้นยังไม่เป็นที่ทราบแน่ชัด แต่ผลงานวิจัยมากมายชี้ให้เห็นว่ากลไกการเกิดโรคอัลไซเมอร์เกี่ยวข้องกับการลดลงของอะซิติลโคลีน (acethylcholine, ACh). ดังนั้นการใช้ยาที่มีฤทธิ์ในการยับยั้งเอนไซม์อะซิติลโคลีนเอสเทอเรส (acetycholinesterase, AChE) อาทิ โดนิพิซิล (donepezil), กาแลนทาไมน์ (galantamine) และ ไรวาสติกไมน์ (rivastigmine) ซึ่งมีผลไปยับยั้งการสลายตัวของ ACh จึงสามารถป้องกันการสูญเสียความจำที่เกิดจากโรคอัลไซเมอร์ได้. อย่างไรก็ตามการใช้ยาดังกล่าวก่อให้เกิดผลข้างเคียง อาทิ อาการคลื่นไส้และอาเจียน. เพื่อที่จะป้องกันและลดอาการดังกล่าว ผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติที่มีศักยภาพในการยับยั้งเอนไซม์ AChE จึงได้ถูกนำมาศึกษาเพื่อพัฒนาเป็นอาหารเสริมสำหรับลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคอัลไซเมอร์ในประเทศไทย. จุดประสงค์ของการวิจัยนี้คือ เพื่อทำการแยกและคัดเลือกไกลดิงแบคทีเรียจากทะเลที่มีฤทธิ์ในการยับยั้ง AChE, ฤทธิ์ต้านจุลินทรีย์ และศึกษาความเป็นพิษของสารต่อเซลล์มะเร็ง, เพื่อศึกษาสภาวะที่เหมาะสมต่อการเพาะเลี้ยงและวิธีการทำสารให้บริสุทธิ์ และศึกษาโครงสร้างทางเคมีและคุณสมบัติของสารดังกล่าว สำหรับพัฒนาเป็นอาหารเสริมลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคอัลไซเมอร์. จากผลการศึกษาการยับยั้งเอนไซม์ AChE สารสกัดหยาบที่ได้จากไกลดิงแบคทีเรียจำนวน 90 ตัวอย่าง พบว่า มีจำนวน 7 ตัวอย่าง ที่สามารถยับยั้งเอนไซม์ดังกล่าวได้มากกว่าหรือเท่ากับ 70 เปอร์เซ็นต์. ในจำนวนนี้พบว่า ไกลดิงแบคทีเรียสายพันธุ์ TISTR 1710 และ TISTR 1742 เป็นสายพันธุ์ที่มีศักยภาพในการผลิตสารออกฤทธิ์ยับยั้ง AChE ได้ดี. เมื่อศึกษาคุณสมบัติทางสัณฐานวิทยาและสมบัติโดยทั่วไป พบว่า ไกลดิงแบคทีเรียทั้งสองสายพันธุ์เป็นแบคทีเรียกลุ่มแกรมลบ, รูปร่างเป็นเส้นสายยาว. ความเข้มข้นของโซเดียมคลอไรด์ที่เหมาะสมในการเจริญ คือ 2-3 เปอร์เซ็นต์ และอุณหภูมิที่เหมาะสมในการเจริญคือ 30 องศาเซลเซียส. จากการจัดจกแนกชนิดไกลดิงแบคทีเรียทั้งสองสายพันธุ์โดยการศึกษาลักษณะทางเคมีของเซลล์และลำดับนิวคลีโอไทด์ควบคู่กัน (Polyphasic approach) พบว่า ไกลดิงแบคทีเรียสายพันธุ์ TISTR 1742 และ สานพันธุ์ TISTR 1710 เป็นแบคทีเรียในกลุ่ม Rapidithrix thailandica ซึ่งเป็นแบคทีเรียสกุลใหม่และชนิดใหม่. ผลการแยกสารที่มีฤทธิ์ทางชีวภาพจาก Rapidithrix thailandica TISTR 1742 ที่เลี้ยงในอาหาร slin milk ด้วยวิธีการติดตามฤทธิ์ทางชีวภาพ (bioassay guided fractionation), การศึกษาทางสเปกโทรสโกปีของสาร และเทคนิค X-ray crystallography พบว่า ผลึกโครงสร้างของสารใสรูปเข็มเป็นสาร marinoquinoline A (4- methyl-3 H - pyrrolo [2,3-c] quinoline) ซึ่งมีสูตรโมเลกุลเป็น C12 H10 N2 สอดคล้องกับผลของการแยกสารที่มีฤทธิ์ทางชีวภาพของ Rapidithrix thailandica TISTR 1712 คือสารได้ที่มีโครงสร้างคล้ายคลึงกับ marinoquinoline A เช่นกัน. เป็นที่น่าสนใจที่สาร marinoquinoline A มีฤทธิ์ในการยับยั้งเอนไซม์ AChE โดยมีค่า MIC ที่ 4.9 µM ในขณะที่ไม่มีผลในการยับยั้งเซลล์มะเร็งทั้ง 4 ชนิด คือ มะเร็งเต้านม (breast adenocarcinoma: MCF-7), มะเร็งลำไส้ (human colon adenocarcinoma: HT-29), มะเร็งปากมดลูก (human cervix carcinoma: Hela) และมะเร็งในช่องปาก (human mouth epidemoid carcinoma: KB). นอกจากนี้ ผลการศึกษาฤทธิ์ในการยับยั้งเชื้อจุลินทรีย์ของ marinoquinoline A ยังพบว่า สามารถยับยั้งเชื้อแบคทีเรียได้น้อยเมื่อเปรียบเทียบกับยาปฏิชีวนะทางการค้า, มีฤทธิ์ในการยับยั้งยีสต์ได้ใกล้เคียงกับแอมโฟเทอริซิน บี (amphotericin B) และมีฤทธิ์ในการยับยั้งราได้น้อย.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ไม่มีรายการทางกายภาพสำหรับระเบียนนี้

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300