การพัฒนาเครื่องพ่นละอองเพื่อบำบัดทางการแพทย์ = development of ultrasonic nebulizer / Sumate Poomiapiradee...[et al.]

ผู้แต่งร่วม: Busabok, Chumphol | Eamchotchawalit, Chutima | Jeerapan, Chalermchai | Kanchanasutha, Sittichai | Khongwong, Wasana | Poomiapiradee, Sumate | Tantiwiwat, Yutthana | ชุติมา เอี่ยมโชติชวลิต | สิทธิชัย กาญจนสุธา | วาสนา ฆ้องวงศ์ | เฉลิมชัย จีระพันธุ์ | ยุทธนา ตันติวิวัฒน์ | ชุมพล บุษบก | สุเมธ ภูมิอภิรดี | Thailand Institute of Scientific and Technological Research
Language: Thai ชื่อชุด: Res. Proj. no. 46-13, Sub. Proj. no.3 ; Final Reportข้อมูลการพิมพ์: Bangkok : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 2006 รายละเอียดตัวเล่ม: ง, 45 p. : col.ill., tables ; 30 cm.ชื่อเรื่องอื่นๆ: การพัฒนาเครื่องพ่นละอองเพื่อบำบัดทางการแพทย์หัวเรื่อง: Aerosols | Asthma | Medical instruments and apparatus | Piezoelectric ceramic | Transducer | Ultrasonic nebulizer | เครื่องพ่นละอองยา | เพียโซอิเล็กทริก | เวชภัณฑ์ | โรคหืด | ทรานสดิวเซอร์ | อัลตราโซนิกส์สารสนเทศออนไลน์: Click here to access cover | Click here to access full-text สาระสังเขป: An ultrasonic nebulizer is one of the most important device used for asthma treatment. The working principle of the ultrasonic nebulizer is as follows: piezoelectric ceramic is a transducer material, when it connects to the electrical power it will convert electrical energy to ultrasonic waves having frequency approximately 2 MHz. The ultrasonic waves will be transferred from the medium (water) to a very thin plastic medication cup, and finally through the liquid medicine. They stimulate medication solution molecules and induce vibration. This process drives molecules of medication solution to move at a high acceleration rate greater than the acceleration of gravity, causing medication droplets to form and separate from its surface which is visible as fog or mist scattering in the air. If the medication droplets were directly connected to a mouth or mose of a patient, the symptom will be cured.สาระสังเขป: Development of ultrasonic nebulizer consists of 3 main steps: 1) development of piezoelectric ceramic, 2) body design, and 3) development of electronic circuit. The first step, development of piezoelectric ceramic, was not mentioned in this report. The part of body design and development of electronic circuit were focused on a circuit which generated frequency frequency from oscillator equal to frequency produced by the transducer (piezoelectric ceramic). Moceover, materials and electronic parts used in this project should be easily found in Thailand.สาระสังเขป: Ultrasonic nebulizer developed by TISTR generates ultrasonic waves at the frequency of approximately 2 MHz, and consumes electrical power 20 watts. It is suitable to use with electrical current of 220 VAC, 50 Hz. It has nebulization rate about 0.2 ml/min. (depending on medication density) and generates medication droplets having particle size ca 5 micron. The medication cup capacity is approximately 10 ml. - Authors.สาระสังเขป: เครื่องพ่นละอองยาอัลทราโซนิกส์ เป็นอุปกรณ์ที่สำคัญชนิดหนึ่งที่ใช้ในการรักษาผู้ป่วยโรคหืด ที่ต้องอาศัยยาพ่นชนิดน้ำ โดยมีหลักการทำงานของเครื่องดังนี้คือ เริ่มต้นจากหัวเพียโซอิเล็กทริกซึ่งเป็นสารทรานสดิวเซอร์ เมื่อได้รับกระแสไฟฟ้า จะเปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานกลในรูปของคลื่นอัลทราโซนิกส์ความถี่ประมาณ 2 เมกะเฮิรตซ์ ซึ่งเป็นคลื่นเหนือเสียง ส่งผ่านน้ำและภาชนะบรรจุยาซึ่งเป็นพลาสติกที่มีความบางมาก ผ่านไปยังตัวยาซึ่งเป็นของเหลว โดยความถี่ดังกล่าวจะทำให้โมเลกุลของยาเกิดการสั่นสะเทือน และเคลื่อนที่ด้วยความเร่งมากกว่าแรงโน้มถ่วงของโลก ทำให้อนุภาคของยาหลุดออกจากผิวหน้าเกิดเป็นละอองยาขนาดประมาณ 5 ไมครอนลอยไปในอากาศได้ ซึ่งถ้าต่อท่อผ่านไปยังปากหรือจมูกของผู้ป่วยที่เป็นโรคหืด ก็จะสามารถช่วยบรรเทาอาการของโรคหรือรักษาอาการของโรคได้.สาระสังเขป: เครื่องพ่นละอองยาอัลทราโซนิกส์ที่พัฒนาขึ้น สามารถผลิตคลื่นอัลทราโซนิกส์ที่ความถี่ประมาณ 2 เมกะเฮิรตซ์ ใช้กำลังไฟฟ้า 20 วัตต์ สามารถใช้ได้กับกระแสไฟฟ้า 220 โวลต์ (VAC) 50 เฮิรตซ์มีอัตราการพ่นละอองประมาณ 0.2 มิลลิลิตรต่อนาที (ขึ้นกับความหนาแน่นของยา) ขนาดของละอองประมาณ 5 ไมครอน ความจุของภาชนะใส่ยาประมาณ 10 มิลลิลิตร. - ผู้แต่ง.สาระสังเขป: การพัฒนาและสร้างเครื่องพ่นละอองยาอัลทราโซนิกส์ ประกอบด้วยขึ้นตอนสำคัญ 3 ขึ้นตอน คือ 1) การพัฒนาหัวเพียโซอิเล็กทริกเซรามิก 2) การออกแบบตัวเครื่อง และ 3) การพัฒนาวงจรอิเล็กทรอนิกส์ โดยใช้หลักการทำงานแบบบูรณาการ สำหรับการพัฒนาหัวเพียโซอิเล็กทริกเซรามิกจะไม่ได้กล่าวถึงในรายงานฉบับนี้ ส่วนการออกแบบตัวเครื่องและการพัฒนาวงจรอิเล็กทรอนิกส์ ได้ดำเนินการโดยเน้นการสร้างวงจรที่ให้ความถี่จากวงจรออสซิลเลเตอร์เท่ากับค่าความถี่เรโซแนนซ์ของหัวทรานสดิวเซอร์ วัสดุและชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้จะต้องเป็นวัสดุที่หาได้ง่ายในประเทศไทย.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ชนิดของทรัพยากร Location Call number สถานะ Last seen Copy No. บาร์โค้ด
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 1 RP2006/1341
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 2 RP2006/1341-2

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300