การลดความเสียหายของรถที่ต้องแล่นลุยน้ำ = the reduction of damages on cars caused by during in flooding conditions / Manit Peuksakondh...[et al.]

ผู้แต่งร่วม: Gerdchai, Sumroeng | Homdokmi, Thavesak | Nujyu, Surat | Panturaks, Anek | Peuksakondh, Manit | Rohitsukh, Taweesakdi | Rubsiri, Larb | Skuljawprayoon, Siripan | Yotheekana, Jitkasem | เกิดฉาย, สำเริง | มานิต เผือกสกนธ์ | โยธีคณะ, จิตต์เกษม | ทวีศักดิ์ โรหิตสุข | นุชอยู่, สุรัตน์ | พันธุรักษ์, เอนก | รับสิริ, หลาบ | ศิริพันธ์ สกุลจอประยูร | ทวีศักดิ์ หอมดอกไม้ | Thailand Institute of Scientific and Technological Research Automotive Technology Centre
Language: Thai ชื่อชุด: Res. Proj. no. 31-08 ; Rep. no. 1ข้อมูลการพิมพ์: Bangkok : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 1990 รายละเอียดตัวเล่ม: 76 p.ชื่อเรื่องอื่นๆ: การลดความเสียหายของรถที่ต้องแล่นลุยน้ำหัวเรื่อง: Cars | Damage reduction | Floods | Siam Technology Universityสารสนเทศออนไลน์: Click here to access full-text สาระสังเขป: A car running through flooded streets for a short period of less than three hours a day without proper maintenance afterwards would possibly acquire a certain degree of damage, and such damage would increase to 90 percent if part of the car has submerged in the water four times a day. However, the starter motor which is more durable would acquire a 90 percent damage only if the car has run through the flood 15 times a day. Encapsulation of such equipment could reduce the damage; and in case of a negative result; the equipment should be completely sealed. In addition pressurization should be applied to obtain higher degree of efficiency. Authorsสาระสังเขป: The research for the reduction of damages on cars caused by flooding conditions was divided into two categories. The first one was the research jointly performed between Thailand Institute of Scientific and Technological Research (TISTR) and Siam Technology University. TISTR's function was mainly in administrative work while Siam Technology University was responsible for engineering work. The main research activities aimed at permanent sealing of components to prevent leaking in of water. The second category was the task that was solely done by TISTR concentrating on identifying the probability of damages to any component of the car when driving through flood streets and the causes of those damages would be verified. The reduction of damages was done by installing add-on-devices which could be easily installed and removed with low investment cost and the method was a temporary measure. The result of the study showed that the car which was seldom driven on a flooded road at the depth of not more than 50 centimetres with a surge of waves not higher than 20 centimetres would not be subjected to significant damages. The only exception to this was the malfunction of high voltage ignition system in a gasoline engine and the damages to alternators and starting motors in both gasoline and diesel engines. In general, cars which are driven on flooded roads with all the electrical equipment working will take high risk of alternator damage whereas the damage to starter motor is little. The damage mainly occurs from the result of rusty parts and failure of rectifiers. Starter motor failure is usually caused by the forming of rust on the parts resulting in field coil failure. The occurring damages of these two electrical components could be reduced by either sealing or encapsulating method, but the result of which would be excessive heat generated from unadequate cooling air flowing through the units when the car returns to its normal running condition.สาระสังเขป: การวิจัยเกี่ยวกับการลดความเสียหายของรถที่ต้องแล่นลุยน้ำ แยกออกเป็นสองงานด้วยกัน คือ งานวิจัยร่วมระหว่างสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วท.) กับมหาวิทยาลัยเทคนิคสยาม (มทส.) ซึ่ง วท. รับหน้าที่ทางด้านบริหาร และ มทส. รับหน้าที่ทางด้านวิศวกรรม ซึ่งการวิจัยมุ่งไปในทางกันน้ำที่ค่อนข้างถาวร โดยใช้วิธีการอุดรูน้ำเข้าเป็นส่วนใหญ่. ส่วนอีกงานหนึ่งคืองานวิจัยที่กระทำโดย วท. เอง โดยมุ่งไปในทางการพิสูจน์ทราบว่าในการที่รถจะต้องแล่นลุยน้ำนั้น ชิ้นส่วนใดบ้างที่จะชำรุดเสียหาย และชำรุดเสียหายเนื่องจากเหตุใด. การลดความเสียหายกระทำด้วยวิธีใช้ชิ้นส่วนเพิ่มที่ติดตั้งและถอดออกได้ง่าย ราคาถูก, การกันน้ำเป็นการกันน้ำชั่วคราว. ผลปรากฏว่ารถที่แล่นลุยน้ำลึกไม่เกิน 50 ซม. มีการกระฉอกไม่เกิน 20 ซม. นาน ๆ ครั้ง โอกาสที่ชิ้นส่วนอุปกรณ์ต่าง ๆ จะชำรุดเสียหายมีน้อยมาก, ยกเว้นการปฏิบัติงานไม่ปกติ ของระบบไฟแรงสูงในรถ ที่ใช้เครื่องยนต์เบนซิน และการชำรุดเสียหายของชุดผลิตกระแสไฟฟ้า และชุดสตารท์. ในรถทั่วๆไป รถที่ต้องแล่นลุยน้ำโดยให้ชุดผลิตกระแสไฟฟ้าทำงานไปด้วย โอกาสที่ชุดผลิตกระแสไฟฟ้าจะชำรุดเสียหายหลังจากการแล่นลุยน้ำมีค่อนข้างสูง, ในขณะที่โอกาสที่ชุด สตาร์ทจะชำรุดเสียหายมีน้อย, สำหรับชุดผลิตกระแสไฟฟ้า การชำรุดเสียหายเกิดจากการเป็นสนิมและชุดเรคติฟายเออร์ชำรุด. ส่วนชุดสตาร์ทการชำรุดเสียหายเกิดจากการเป็นสนิมและการชำรุดของขดลวดแม่เหล็ก. การลดความเสียหายของอุปกรณ์ทั้งสองชนิดอาจทำได้โดยวิธีอุดรูที่น้ำจะเข้า และวิธีหุ้มห่อ. แต่การกระทำดังกล่าวต่อชุดผลิตกระแสไฟฟ้าอาจมีปัญหาจากความร้อนเกิดขึ้นเมื่อแล่นผ่านพ้นระยะที่น้ำท่วมไปแล้วได้. สำหรับการแล่นลุยผ่านน้ำเป็นช่วงระยะเวลาสั้นๆ ครั้งละไม่เกินสามชั่วโมง และไม่เกินหนึ่งครั้งต่อวันและไม่มีการบำรุงรักษาหลังการแล่นลุยน้ำ โอกาสที่ชุดผลิตกระแสไฟฟ้าจะชำรุดมีอยู่บ้าง และจะชำรุดด้วยความน่าจะเป็นประมาณ 90% หากลุยน้ำเกิน 4 ครั้ง. ส่วนชุดสตาร์ทจะคงทนกว่า คือจะชำรุดด้วยความน่าจะเป็นประมาณ 90% เมื่อลุยน้ำเกิน 15 ครั้ง. การลดความเสียหายของชิ้นส่วนอุปกรณ์ต่างๆ ของรถที่ต้องแล่นลุยน้ำ ควรกระทำโดยใช้วิธีหุ้มห่อเป็นอันดับแรก. ชิ้นส่วนใดที่การหุ้มห่อไม่สามารถกระทำได้จึงควรใช้วิธีอุดรูที่ น้ำจะเข้า ด้วยการให้ความกดดัน ประกอบไปด้วยก็ได้. -ผู้แต่ง.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ชนิดของทรัพยากร Location Call number สถานะ Last seen Copy No. บาร์โค้ด
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 1 RP1990/843
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 2 RP1990/843-2

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300