การศึกษาความเป็นพิษของสาหร่ายที่ผลิตสารพิษในแหล่งน้ำจืดและแนวทางแก้ไข: 12. ผลของสารพิษไมโครซิสตินต่อปลาเศรษฐกิจของไทย = study on toxicity of cyanobacterial blooms and solution of the problem: 12. Effect of microcyctins on commercial-valued fish of Thailand / Aparat Mahakhant...[et al.]

ผู้แต่งร่วม: Arunpairojana, Vullapa | Mahakhant, Aparat | Pholsanong, Piyawat | Sailasuta, Achariya | Thisayakorn, Krittiya | ไศละสูต, อัจฉริยา | กฤติยา ทิสยากร | ผลสนอง, ปิยะวัฒน์ | อาภารัตน์ มหาขันธ์ | วัลลภา อรุณไพโรจน์ | Thailand Institute of Scientific and Technological Research
Language: Thai ชื่อชุด: Res. Proj. no. 43-10 Rep. no. 12ข้อมูลการพิมพ์: Bangkok : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 2003. รายละเอียดตัวเล่ม: 34 p. ill., tablesชื่อเรื่องอื่นๆ: การศึกษาความเป็นพิษของสาหร่ายที่ผลิตสารพิษในแหล่งน้ำจืดและแนวทางแก้ไข: 12. ผลของสารพิษไมโครซิสตินต่อปลาเศรษฐกิจของไทยหัวเรื่อง: Barbodes gonionotus | Clarius macrocephalus | Common silver barb | Cyanobacteria | Fishes | Gunther's walking catfish | Microcystins | Microcystis aeruginosa | Nile tilapia | Oreochromis niloticus | Pangasius hypophthalmus | Striped catfish | Toxicityสารสนเทศออนไลน์: Click here to access cover | Click here to access full-text สาระสังเขป: Toxicity of microcystins crude extract from Microcystis aeruginosa collected from a catfish farm, Pathum Thani Province, Thailand was assessed on Gunther's walking catfish Clarius macrocephalus (Gunther), Nile tilapia Oreochromis niloticus (Linnaeus), striped catfish Pangasius hypophthalmus (Sauvage) and common silver bard Barbodes gonionotus (Bleeker), the economic fish of Thailand (age 1-1.5 month). The sensitivity to microcystins crude extract was presented in term of LC50 which varied on each species of fish. The Gunther's walking catfish was the most tolerant species although they were exposed to high concentration of microcystins (>1,000 µg/1). The Nile tilapia, striped catfish and common silver barb were found to be sensitive to the microcystins crude extract and their LC50 were 450, 340 and 160 , respectively. The organs of these fish were histopathologically examined and significantly changes were detected after exposed to microcystins. The lesions indicated that microcystins, the exdotoxin of M. aeruginosa caused the declining in fish diversity and number of sensitive species in the habital of toxic cyanobacterial blooming ecosystem. - Authors.Review: ทำการศึกษาผลของสารพิษไมโครซิสตันสกัดหยาบจากสาหร่ายสีน้ำเงินแกมเขียว Microcystis aeruginosa ที่เจริญเติบโตอย่างรวดเร็วในบ่อเพาะเลี้ยงปลาดุกแห่งหนึ่ง ในจังหวัดปทุมธานี โดยตรวจสอบปริมาณสารพิษไมโครซิสติน (microcystins) จากสารสกัดหยาบด้วยเครื่อง High Performance Liquid Chromatography (HPLC) ทดสอบความเป็นพิษของสารพิษไมโครซิสตินสกัดหยาบที่มีผลต่อปลาเศรษฐกิจของประเทศไทย ซึ่งมีอายุประมาณ 1-1.5 เดือน จำนวน 4 ชนิด ได้แก่ : ปลาดุก Clarius macrocephalus (Gunther), ปลานิล ฯ Oreochromis niloticus (Linnaeus), ปลาสวย Pangasius hypophthalmus (Sauvage) และปลาตะเพียน Barbodes gonionotus (Bleeker) เป็นเวลา 48 ชั่วโมง. ผลการศึกษาพบว่า ปลาทั้ง 4 ชนิด ตอบสนองต่อสารพิษไมโครซิสตินสกัดหยาบได้แตกต่างกัน โดยพบว่าปลาดุกสามารถทนทานต่อสารดังกล่าวได้ดีที่สุด (มากกว่า 1,000 ไมโครกรัมต่อลิตร) โดยไม่ปรากฎการตาย, ส่วนปลานิล ปลาสวย และปลาตะเพียนขาว มีความอ่อนไหวต่อสารพิษไมโครซิสตินสกัดหยาบ แสดงด้วยค่า LC50 ที่ 450, 340 และ 160 ไมโครกรัมต่อลิตร ตามลำดับ. นอกจากนี้ยังสามารถตรวจพบความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับอวัยวะของปลาทั้ง 3 ชนิด แสดงให้เห็นถึงความเป็นพิษของสารไมโครซิสตินต่อลูกปลาขนาดเล็ก, ซึ่งสามารถนำไปสู่ปัญหาการลดความหลากหลายของชนิดพันธุ์ และจำนวนปลาชนิดที่มีความอ่อนไหวที่อาศัยอยู่ในระบบนิเวศที่มีปัญหาการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วของสาหร่ายที่ผลิตสารพิษ. - ผู้แต่ง.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ชนิดของทรัพยากร Location Call number สถานะ Last seen Copy No. บาร์โค้ด
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 1 RP2003/1234
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 2 RP2003/1234-2

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300