การศึกษาเบื้องต้นของน้ำมันแพตซูลีในประเทศไทย = preliminary study of patchouli oil in Thailand / Nitasna Pichitakul...[et al.]

ผู้แต่งร่วม: Kemachuntree, Narong | Nandhasri, Pranee | Pichitakul, Nitasna | Prakobwanakit, Sukonth | Punruckvong, Acharaporn | ณรงค์ เขมะจันตรี | ปราณี นันทศรี | ประกอบวรรณกิจ, สุคนธ์ | อัจฉราพร พันธุ์รักส์วงศ์ | นิทัศน์ พิชิตกุล | Thailand Institute of Scientific and Technological Research <Pharmaceuticals and Natural Products Research Division=Pharmaceuticals and Natural Products Department> Essential Oils & Cosmetics Lab
Language: Thai ชื่อชุด: Res. Proj. no. 20-61; Rep. no. 5ข้อมูลการพิมพ์: Bangkok : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 1981 รายละเอียดตัวเล่ม: 13 p.ชื่อเรื่องอื่นๆ: การศึกษาเบื้องต้นของน้ำมันแพตซูลีในประเทศไทยหัวเรื่อง: Essences and essential oils | Patchouli oil | Pogostemon cablinสารสนเทศออนไลน์: Click here to access full-text สาระสังเขป: Patchouli (Pogostemon cablin Benth) is a small hergaceous perennial plant. Its leaves contain a good odour. Patchouli oil is one of the most valuable ingredients in perfumes. The oil was obtained by means of steam distillation of dried leaves. This kind of essential oil yields a strong and lasting odour.สาระสังเขป: The experiment on cultivation and distillation were carried out at the Thailand Institute of Scientific and Technological Research (TISTR), The fresh weight obtained (including leaves and twigs) came to 4,051 kg/rai. The oil yield from dried leaves amounted to 2.44-2.69 per cent. The distillation was done for 20 hours in a pilot-scale distillation unit.สาระสังเขป: The study has shown that the physico-chemical properties of patchouli oil met the British Standard (BS. 1965). Thai patchouli oil has been accepted by the perfume experts. A study on the comparison of chromatogram has indicated that there was an insignificant difference between Thai and commercial patchouli oil. Authors.สาระสังเขป: แพตชูลี (Pogostemon cablin Benth) เป็นไม้ยืนต้นเนื้ออ่อนเป็นพุ่มขนาดเล็ก ใบมีกลิ่นหอม. น้ำมันแพตชูลีเป็นน้ำมันหอมระเหยที่มีความสำคัญในการทำน้ำหอม ได้จากการกลั่นใบแห้งด้วยไอน้ำ, น้ำมันหอมระเหยชนิดนี้มีกลิ่นฉุนและติดทนนาน.สาระสังเขป: ได้ทำการทดลองปลูกและสกัดน้ำมันหอมระเหยของแพตชูลีที่สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วท.) ผลปรากฏว่าได้น้ำหนักสดทั้งใบและต้นเฉลี่ย 4,051 กก./ไร่. ใบแห้งให้น้ำมัน 2.44-2.69% กลั่นในเครื่องกลั่นชนิดอุตสาหกรรมนำทาง เวลาที่ใช้ในการสกัด 20 ซม.สาระสังเขป: ได้ศึกษาคุณสมบัติทางเคมีและฟิสิกส์ของน้ำมันแพตชูลี อยู่ในมาตรฐานของอังกฤษ และส่งน้ำมันแพตชูลีนี้ไปให้ผู้เชี่ยวชาญทดลองดมดู ปรากฏว่าเป็นที่ยอมรับ. ได้ศึกษา Gas chroma togram เปรียบเทียบกับน้ำมันแพตชูลีที่มีขายในตลาด แสดงให้เห็นว่าต่างกันเล็กน้อย. - ผู้แต่ง.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ชนิดของทรัพยากร Location Call number สถานะ Last seen Copy No. บาร์โค้ด
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 1 RP1981/692
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 2 RP1981/692-2

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300