การพัฒนาผลิตภัณฑ์วัสดุคอมโพสิตจากวัสดุเหลือทิ้งอุตสาหกรรมปาล์มน้ำมัน = Development of solid fuel production technology from palm oil waste via thermochemical process using for biomass co-firing / Lalita Attanatho [et al.]

โดย: Lalita Attanatho
ผู้แต่งร่วม: Lalita Attanatho | Amornrat Suemanotham | Wanchana Sisuthog | Natthawan Prasongthum | Pathompat Khowattana | Yoothana Thanmongkhon | ลลิตา อัตนโถ | อมรรัตน์ สื่อมโนธรรม | วันชนะ สีสุธก | นรรฎธวรรณ ประสงค์ธรรม | ปฐมภัสร์ กอวัฒนะ | ยุทธนา ฐานมงคล
BCG: สิ่งแวดล้อม TRM: พลังงานและสิ่งแวดล้อม IoF: พลังงาน วัสดุ และเคมีชีวภาพ ข้อมูลการพิมพ์: Pathumthani : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 2025 รายละเอียดตัวเล่ม: 124 p. : tables, ill. ; 30 cmชื่อเรื่องอื่นๆ: รหัสโครงการ : 6618203061หัวเรื่อง: ไฮโดรชาร์ | ปาล์ม | ไฮโดรเทอร์มอล | พลังงาน วัสดุ และเคมีชีวภาพสาระสังเขป: The objective of this research is to develop the hydrochar production process using oil palm waste materials, including oil palm trunks and empty fruit bunches. This process is achieved through a hydrothermal carbonization process (HTC) conducted on a prototype scale. As the reaction temperature and duration increased, the fixed carbon content and heating value increased due to dehydration and decarboxylation reactions. Remarkably, the resulting hydrochar exhibited an impressive heating value of approximately 22-26 MJ/kg, comparable to lignite coal. The HTC process shows considerable potential in removing inorganic constituents, primarily potassium, from the initial raw materials. During HTC, potassium is leached and incorporated into the liquid phase. These attributes yield positive outcomes, including the elimination of ash condensation post-combustion, addressing issues related to slag and fouling caused by high-temperature corrosion in the boiler. Furthermore, the utilization of hydrochar was examined both as a standalone fuel and in co-combustion with coal. Blending co- hydrochar with coal demonstrates distinct enhancements in ignition and combustion indices. Consequently, hydrochar emerges as a viable option for utilization as a combustible fuel in biomass power plants or as a co-firing agent alongside coal in coal- powered facilities. Notably, its integration contributes to the reduction of carbon dioxide emissions during the combustion process. To assess economic viability, the estimated production costs of hydrochar derived from oil palm trunks at varyingสาระสังเขป: งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตเชื้อเพลิงแข็งหรือไฮโดรชาร์จากเศษวัสดุปาล์ม (ลำต้นปาล์มและทะลายปาล์มเปล่า) ด้วย กระบวนการไฮโดรเทอร์มอลคาร์บอไนเซชัน ใน ระดับเครื่องต้นแบบ ผลการศึกษาพบว่า การเพิ่มอุณหภูมิและเวลาในการทดลองจะทำให้เกิดเป็น ผลิตภัณฑ์เชื้อเพลิงแข็งที่มีคาร์บอนคงตัวและค่าความร้อนสูงขึ้น ประมาณ 22-26 เมกะจูลต่อกิโลกรัม ใกล้เคียงกับค่าความร้อนของถ่านหินลิกไนต์ กระบวนการไฮโดรเทอร์มอลคาร์บอไนเซชัน ยังช่วย กำจัดโพแทสเซียมในชีวมวลด้วย โดยโพแทสเซียมจะถูกชะล้างและละลายอยู่ในชั้นน้ำ ส่งผลดีทำให้ไม่ เกิดปัญหาการจับตัวแน่นของเถ้าหลังการเผาไหม้ นอกจากนี้ การนำไฮโดรชาร์ไปใช้เป็นเชื้อเพลิง ร่วมกับถ่านหิน ส่งผลให้ทั้งค่าดัชนีการจุดติดไฟและค่าดัชนีการเผาไหม้เพิ่มขึ้น ทำให้ถ่านหินมี พฤติกรรมในการเผาไหม้ได้ดีขึ้น และกระบวนการเผาไหม้มีความเสถียรมากขึ้น ดังนั้น ไฮโดรชาร์มี ศักยภาพที่จะนำไปใช้เป็นเชื้อเพลิงร่วมกับถ่านหิน และยังช่วยลดปริมาณการปลดปล่อย คาร์บอนไดออกไซด์ในกระบวนการเผาไหม้ สำหรับการประเมินต้นทุนการผลิตเชื้อเพลิงแข็งลำต้น ปาล์ม ที่อัตราการใช้ลำต้นปาล์ม 1, 50 และ 100 ตันต่อวัน โดยใช้แบบจำลองร่วมกับผลการทดลอง ในระดับเครื่องต้นแบบ พบว่า เมื่อกำลังการผลิตเพิ่มขึ้น ต้นทุนการผลิตไฮโดรชาร์มีค่าลดลง โดยที่ 100 ตันของลำต้นปาล์มต่อวัน มีต้นทุนการผลิตไฮโดรชาร์ประมาณ 11,975 บาทต่อตัน
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ไม่มีรายการทางกายภาพสำหรับระเบียนนี้

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300