โครงการวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์เสริมอาหารลดไขมันในเลือดจากใบและเมล็ดมะม่วงหิมพานต์ (Anacardium occidentale L.) เพื่อประโยชน์ในเชิงพานิชย์ = Research and development of nutraceautical for reducing of fats in blood from the cashew (anacardium occidentale l.) oil and leaf extracts for its commercialization / Khanittha Chawananorasest [et al.]

โดย: Khanittha Chawananorasest
ผู้แต่งร่วม: Khanittha Chawananorasest | Pattrawadee Kengkwasigh | Amornrat O’Reilly | Wipaporn Patwej | Sarunya Laovitthayanggoon | Supatcha Preecharueangrit | Vachiraporn Ajavakom | Tanapak Inyod | Rewadee Meesat | Sawai Nakakeaw | Sriwichai Suesuk | Kittirat Prangchan | Runchana Funk | Sirinda Meekrasae | Sirinan Thubthimthed | ขนิษฐา ชวนะนรเศรษฐ์ | ภัทรวดี เก่งกว่าสิงห์ | อมรรัตน์ โอไรลีย์ | วิภาพร พัฒน์เวช | ศรัญญา เหล่าวิทยางค์กูล | สุภัชชา ปรีชาเรืองกฤษณ์ | วชิราภรณ์ อาชวาคม | ธนภัทร อินยอด | เรวดี มีสัตย์ | สไว นาคาแก้ว | ศรีวิชัย สู่สุข | กิตติรัตน์ ปรางค์จันทร์ | รัญชนา ฟรังค์ | สิรินดา มีกระแสร์ | ศิรินันท์ ทับทิมเทศ
ข้อมูลการพิมพ์: Pathumthani : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 2024 รายละเอียดตัวเล่ม: 142 p. : tables, ill. ; 30 cm.ชื่อเรื่องอื่นๆ: รหัสโครงการ : 6618103074หัวเรื่อง: เมล็ดมะม่วงหิมพานต์ | ไขมันในเลือด | การต้านอนุมูลอิสระสาระสังเขป: Cashew (Anacadium occidentale L.) nut products are now being on global food markets of raw and roasted nuts mainly. Its young leaves are consumed as a vegetable in Asian crucines. Obesity, a global epidemic with a steady increasing in morbimortality indicators, social problem and serious health risks. Thus the aimed of this project was to in vitro fat cell differentiation in 3T3-L1 inhibition, chemical analysis by proton NMR and fatty acids determination of oils extracted from the raw and ovened cashew nuts. The three sources of the chashew nuts derived from Attaradit (KC-A), Talad Thai market (KC-B), Patum Thani, Nakhon Sri Thammarat provinces (KCC), Thailand. The results presented the 1H NMR chemical shifts at 0.83-0.84 ppm., 1.21- 1.26 ppm., 1.55-1.57 ppm., 2.23-2.32 ppm., 2.71-2.74 and 5.25-5.31 ppm. of the mixture of plamitic, stearic, oleic and linoleic acids well as 5.20-5.24 ppm. and 4.08-4.28 ppm., the glyceryl group of linoleic acid. The most abundunce among the fourteen fatty acids in every sources in both raw and ovened oils was oleic acid (C18 : 1 n-9), following by linoleic acid (C18 : 2 n-6), palmitic acid (C16 : 0) and stearic acid (C18 : 0), respecively. On the other hand, the lowest amount of fatty acids was lauric acid (C12: 0). Mostly the composition of the raw and the ovened oils composition were not much of change of their ingredients amount when ovened. The inhibition of fat cells showed the in raw oils of KC-B (53.12±0.79%), KC-C (23.83±0.63%) and KC-A (20.53±0.72%), respectively compared to the bestatin (52.74±0.01%) as a positive control. The KC-B was considered the highest inhibition in both raw and ovened cashew nut oils. The results of lowing blood cholesterol in rats by HFE ingredients inducing for the high fats for example olive oil 5 milliliter, cholic acids 44.3 milligram and cholesterol 0.48 gram continuously for 28 days compared to the rats fed with normal foods and atorvastatin as a positive control found the cholesterol and triglyceride levels were decreased in days 14 and 28 when fed with atorvastatin. While the rats with the cashew oil 1,000 milligram/kilogram were fed, they illustrated the cholesterol and triglyceride were decreased on days 28 but showed no increasing of HDL which can be suggested that the cashew oil shows its tendency on lowering of cholesterol and triglyceride. The leaves extracts were being under investigations. The young leaf extracts from Sarabury province, 0.5 milligram/milliliter (11.12±0.71), 1 milligram/milliliter (16.41±0.28), 2 milligram /m L (52.74±0.01) exhibited better activity on 3T3-L1 cell lines than those from Autaradit province, 0.5 milligram/milliliter (26.84±1.26), 1 milligram/milliliter (30.9±20.14), 2 milligram/milliliter (42.72±0.30) and found that no inhibition at the concentration of 1 milligram/milliliter and 0.5 milligram/milliliter but it gave the inhibition 2 milligram/milliliter (18.42±0.95). The total phenolic content of the ethanol leaf extracts from six sources resulted the leaf extract from Chumporn province provides the highest the phenolic content of 34.34 g GAE/100g. The DPPH antioxidation of the six leaf extracts with better activity from the province of Phuket, Chumporn, Sarabury1, Srabury2, Auttaradit young leaf, Auttaradit old leaf; 0.09±0.01 milligram/milliliter, 0.12±0.02 milligram/milliliter, 0.12±0.01 milligram/milliliter, 0.15±0.02 milligram/milliliter and 0.26±0.02 milligram/milliliter, respectively. The tyrosinase inhibition of the young (ACL1) and the old leaf extracts (ALC2) from Auttaradit province at concentration of ACL1; 2 milligram/milliliter (42.91±0.003), 4 milligram/milliliter (46.44), 6 milligram/milliliter (49.26±0.001), 8milligram/milliliter (51.91±0.002) and 10 milligram/milliliter (54.38±0.002) ACL2; 0.0002 milligram/milliliter (44.54) , 0.0004 milligram/milliliter (48.28) , 0.0006 milligram/milliliter (52.47±0.001) , 0.0008 milligram/milliliter (55.53±0.001) and 0.001 milligram/milliliter (59.56±0.001). Output of this project included the softgel product containing of thr cachew oil for lowering of cholester and triglyceride level, the face serum for antioxidation from the cashew leaves extract, two petty patents and two international publication papers.สาระสังเขป: ตลาดโลกของผลิตภัณฑ์ส่วนใหญ่ได้มาจากเมล็ดมะม่วงหิมพานต์ชนิดดิบและอบ ประชาชนในประเทศแถบอาเซียนบริโภคใบอ่อนของมะม่วงหิมพานต์เป็นอาหารมีจำนวนน้อยของผลิตภัณฑ์ที่ได้จากน้ำมันเมล็ดและสารสกัดจากใบอ่อนของมะม่วงหิมพานต์ กอรปกันโรคอ้วน ไขมันในเลือดสูงก่อให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพและเป็นสาเหตุของการเสียชีวิตได้ ดังนั้นโครงการนี้จึงได้บีบเย็นน้ำมันชนิดดิบจากมะม่วงหิมพานต์จากสามแหล่งหลัก อาทิ จังหวัดอุตรดิตถ์ (KC_A), ตลาดไท จังหวัดปทุมธานี (KC_B), จังหวัดนครศรีธรรมราช (KC_C) เพื่อสกัดและทดสอบฤทธิ์ลดไขมันในเลือดในระดับเซลล์ (3T3L1) รวมถึงการวิเคราะห์คุณภาพและปริมาณของน้ำมันที่สกัดได้จากเมล็ดดิบเปรียบเทียบกับเมล็ดสุกของทั้งสามแหล่ง พบว่าจาก 1H NMR chemical shifts ที่ 0.83-0.84 ppm., 1.21-1.26 ppm., 1.55-1.57 ppm., 2.23-2.32 ppm., 2.71-2.74 และ 5.25-5.31 ppm. เป็นสัญญาณของกรดไขมันที่มีส่วนผสมของกรดปาล์มิติก, เสตียริก, โอเลอิก, ลิโนเลอิกและไตรกลีเซอร์ไรด์ของกรดลิโนเลอิกที่ปรากฏสัญญาณที่ 5.20-5.24 ppm. และ 4.08-4.28 ppm. ผลการวิเคราะห์กรดไขมัน 18 ชนิดที่มีในน้ำมันเมล็ดดิบและสุกด้วย แก๊สโครมาโทกราฟี พบว่ากรดโอเลอิก (C18 : , n-9) มีปริมาณสูงที่สุด (ในปริมาณสูงกว่า 60%) ปริมาณกรดไขมันตามลำดับดังนี้ ลิโนเลอิก (C18 : 2 n-6), ปาล์มมิติก (C16 : 0) สเตียริก (C18 : 0) และ ลอลิก (C12 : 0) องค์ประกอบของน้ำมันจากเมล็ดมีการเปลี่ยนแปลงไม่มากนักเมื่อผ่านความร้อนจากการอบที่ 50 องศาเซลเซียส ผลทดสอบการยับยั้งเซลล์ไขมันพบฤทธิ์สูงสุดของน้ำมันเมล็ดมะม่วงหิมพานต์ตามลำดับดังนี้ KC-B (53.12±0.79%) , KC-C (23.83±0.63%) และ KC-A (20.53±0.72%) เปรียบเทียบกับยามาตรฐานเบสตาติน bestatin (52.74±0.01%) นอกจากนี้ผลการศึกษาการลดไขมันโดยใช้หนูแรทที่ถูกเหนี่ยวนำโดย HFE ให้มีระดับไขมันสูง ซึ่งมีส่วนผสม ได้แก่ olive oil 5 มิลลิลิตร, cholic acid 44.3 มิลลิกรัม และ cholesterol 0.48 กรัม โดยได้รับอย่างต่อเนื่องนาน 28 วัน ซึ่งส่งผลให้หนูแรทมีระดับไขมันในเลือดสูงเมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มที่ได้รับอาหารปกติ โดยมี atorvastatin เป็นกลุ่มควบคุมบวก กลุ่มที่ได้รับ atorvastatin มีระดับ cholesterol และ triglyceride ลดลงเมื่อป้อนครบ 14 และ 28 วัน ในขณะที่ หนูในกลุ่มที่ได้รับน้ำมันเมล็ดมะม่วงหิมพานต์ ขนาด 1,000 มิลลิกรัม/กิโลกรัม มีระดับ cholesterol และ triglyceride ในเลือดลดลงในวันที่ 28 แต่ไม่สามารถเพิ่มระดับHDL ได้ ดังนั้นน้ำมันเมล็ดมะม่วงหิมพานต์มีแนวโน้มในการลดระดับไขมัน cholesterol และ triglyceride ส่วนสารสกัดจากใบอ่อนและแก่ของมะม่วงหิมพานต์ในการยับยั้งเซลล์ไขมัน 3T3-L พบว่าสารสกัดใบอ่อนจากจังหวัดสระบุรี1, 0.5 มิลลิกรัม/มิลลิลิตร (11.12±0.71), 1 มิลลิกรัม/มิลลิลิตร(16.41±0.28), 2 มิลลิกรัม/มิลลิลิตร (52.74±0.01) ได้ผลดีกว่าสารสกัดใบอ่อนจากอุตรดิตถ์, 0.5 มิลลิกรัม/มิลลิลิตร (26.84±1.26), 1 มิลลิกรัม/มิลลิลิตร (30.9±20.14), 2 มิลลิกรัม/มิลลิลิตร (42.72±0.30) และพบว่าสารสกัดใบอ่อนจากจังหวัดภูเก็ตที่ 1 มิลลิกรัม/มิลลิลิตร และ0.5 มิลลิกรัม/มิลลิลิตร ให้ผลไม่ยับยั้งเซลล์ไขมันส่วนที่ความเข้มข้น 2 มิลลิกรัม/มิลลิลิตร ให้ผลการยับยั้ง 18.42±0.95 ด้านผลการตรวจวิเคราะห์ตัวอย่างสารสกัดด้วยเอทานอลของใบเมล็ดมะม่วงหิมพานต์สกัดจาก 6 แหล่ง พบสารสกัดด้วยเอทานอลของใบอ่อนเมล็ดมะม่วงหิมพานต์ จากจังหวัดชุมพร มีปริมาณ ประกอบฟีนอลิกรวมมากที่สุดเท่ากับ 34.34 กรัมแกลลิค/ในร้อย และจากการวิเคราะห์ของสารสกัดทั้ง 6 ตัวอย่างในการต้านอนุมูลอิสระโมเดล DPPH ได้ผลดีตามลำดับดังนี้ สารสกัดใบอ่อนมะม่วงหิมพานต์จากจังหวัดภูเก็ต, ชุมพร, สระบุรี1 และ 2, อุตรดิตถ์ใบอ่อนและแก่ ดังนี้ 0.09±0.01 มิลลิกรัม/มิลลิลิตร, 0.12±0.02 มิลลิกรัม/มิลลิลิตร, 0.12±0.01 มิลลิกรัม/มิลลิลิตร, 0.15±0.02 มิลลิกรัม/มิลลิลิตร และ 0.26±0.02 มิลลิกรัม/มิลลิลิตร และมีผลการต้านอนุมูลอิสระดีกว่าสารมาตรฐาน trolox (0.45±0.01) นอกจากนี้ ผลการทดสอบการต้านเอนไซม์ไทโรซิเนสของสารสกัดจากใบมะม่วงหิมพานต์ พบว่าจากการทดลอง Anti-tyrosinase ของสารตัวอย่างใบมะม่วงหิมพานต์ทั้ง 2 ชนิด โดยใช้ Kojic acid เป็นสารมาตรฐานเปรียบเทียบเปอร์เซ็นต์การยับยั้งเอนไซม์ไทโรซิเนสกับสารตัวอย่างทั้ง 2 ชนิด เพราะ Kojic acid มีฤทธิ์ยังยั้งเอนไซม์ไทโรซิเนส ซึ่งจากการทดลองพบว่าเปอร์เซ็นต์การยังยั้งเอนไซม์ ไทโรซิเนสของ Kojic acid ≥80.00 และเปอร์เซ็นต์การยังยั้งเอนไซม์ไทโรซิเนสของสารตัวอย่าง ACL1 (สารสกัดใบอ่อนจากจังหวัดอุตรดิตถ์) ที่ความเข้มข้น 2, 4, 6, 8 และ 10 มิลลิกรัม/มิลลิลิตร เท่ากับ42.91±0.003 , 46.44 , 49.26±0.001, 51.91±0.002 และ 54.38±0.002 ตามลำดับ สารตัวอย่าง ACL2 (สารสกัดใบแก่จากจังหวัดอุตรดิตถ์) ที่ความเข้มข้น 0.0002 , 0.0004 , 0.0006 , 0.0008 และ 0.001 มิลลิกรัม/มิลลิลิตร เท่ากับ 44.54, 48.28, 52.47±0.001, 55.53±0.001 และ 59.56±0.001 ตามลำดับ มะม่วงหิมพานต์ (Anacadium occidentale L.), การยับยั้งเซลล์ไขมัน 3T3-L1, กรดไขมัน, ดีพีพีเอช และการต้านไทโรซิเนส ได้ผลสำเร็จของการดำเนินการในโครงการนี้ ดังนี้ ผลิตภัณฑ์ซอฟเจลบรรจุน้ำมันเมล็ดมะม่วงหิมพานต์ลดคอเลสเตอรอลและไตรกลีเซอไรด์จำนวน 1 ผลิตภัณฑ์, ผลิตภัณฑ์ซีรั่มบำรุงผิวหน้าต้านออกซิเดชันจากสารสกัดใบมะม่วงหิมพานต์จำนวน 1 ผลิตภัณฑ์, อนุสิทธิบัตร จำนวน 2 เรื่อง, ผลงานตีพิมพ์ จำนวน 2 เรื่อง
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ไม่มีรายการทางกายภาพสำหรับระเบียนนี้

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300