การศึกษาสภาวการณ์และปัญหาด้านเทคโนโลยีของอุตสาหกรรมยางรองบ่อน้ำ: โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์จากยางพารา = development on production of rubber: study on the status and technological constraints of watertight rubber lining industry for reservoirs / Kesara Nutalaya...[et al.]

ผู้แต่งร่วม: Arunyanak, Silpachai | Cheosakul, Ubolsri | Inwang, Sanchai | Meeprasert, Nantana | Nutalaya, Kesara | Sriwanawit, Jit | Sthapitanonda, Kannika | อุบลศรี เชี่ยวสกุล | เกศรา นุตาลัย | นันทนา มีประเสริฐ | จิตต์ ศรีวรรณวิทย์ | กรรณิการ์ สถาปิตานนท์ | ศิลปชัย อรัญยะนาค | สรรค์ชัย อินหว่าง | Thailand Institute of Scientific and Technological Research Chemical Industry Department Chemical Formulation and Processing Lab
Language: Thai ชื่อชุด: Res. Proj. 30-04 ; Rep. no. 1ข้อมูลการพิมพ์: Bangkok : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 1987 รายละเอียดตัวเล่ม: 71 p.ชื่อเรื่องอื่นๆ: Study on the status and technological constraints of watertight rubber lining industry for reservoirs | โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์จากยางพารา | การศึกษาสภาวการณ์และปัญหาด้านเทคโนโลยีของอุตสาหกรรมยางรองบ่อน้ำ : โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์จากยางพาราหัวเรื่อง: Lining materials | Reservoirs | Rubber sheets | Watertight lining industryสารสนเทศออนไลน์: Click here to access cover | Click here to access full-text สาระสังเขป: In this report, TISTR has reviewed the status and technological constraints of watertight lining industry in order to determine the feasibility of using natural rubber for lining reservoirs. The data on linings made of various materials were collected, analyzed and compared both technologically and economically. From the preliminary data, it was found that lining materials used nowadays in Thailand are clay, concrete and plastic sheets. As for synthetic rubbers, which are widely used in developed countries due to their high weather-resistant quality, they are scarcely utilized because of their very high cost and import necessity. Clay lining are mostly for temporary use and they need to be repaired quite often. In spite of its high cost, concrete has been widely accepted and is still generally employed. Recently, low-cost PVC and PE sheets have been introduced as sheets for lining reservoirs, but their working lives have not yet been definitely determined. Consequently, from the present study it was found that the working life of a material depends substantially on the site preparation and lining methods. Appropriate methods such as overlaying plastics or other low weather-resistant materials with soil would increase the working lives of the sheets. It can also be said that in the marketing of sheets for lining reservoirs, besides cost and quality of materials, advices on topics such as site selection, ground preparation and lining methods are also essential factors for consideration.สาระสังเขป: Natural rubber sheets usually possess high tensile strength and elongation. Besides, chemicals such as UV absorber and antioxidant can be added in order to overcome its low-weather resistance. To obtain a valid conclusion of utilizing natural rubber as watertight lining for reservoirs, more experiments on rubber formulation and reservoir prototype development by appropriate method should be made available. All the data should be collected for analysis and evaluation on a long-term basis. The result of using different types of linings for reservoirs in various areas should be followed up. A study on the application of rubber sheet to other linings such as salt field lining, roof lining, etc. should be carried out. Authors.สาระสังเขป: One possible way to add the value and to increase the consumption of natural rubber is to fabricate it as rubber sheets for lining reservoirs especially to prevent seepage in the sandy soil and arid land areas.สาระสังเขป: แนวทางหนึ่งซึ่งอาจจะเพิ่มมูลค่าและปริมาณการใช้ประโยชน์ของยางพาราก็คือ การทำยางพาราให้เป็นแผ่นยางสำหรับรองบ่อน้ำ โดยเฉพาะในพื้นที่ดินปนทรายและแห้งแล้ง ซึ่งไม่สามารถกักเก็บน้ำไว้ได้นาน.สาระสังเขป: แผ่นยางพารานั้นมีความแข็งแรงในด้านแรงดึงและมีค่าความยืดสูง. นอกจากนี้การเติมสารเคมีจำพวกดูดกลืนแสงอัลตราไวโอเลต (UV absorber) และต่อต้านออกซิเดชัน (antioxidant) ก็อาจช่วยทำให้ทนทานต่อสภาวะธรรมชาติในประเทศได้มากขึ้น. เพื่อหาผลสรุปการใช้แผ่นยางพาราเป็นวัสดุรองบ่อน้ำ จึงควรจะได้มีการพัฒนาสูตรแผ่นยางพารา เพื่อทดลองใช้รองบ่อน้ำด้วยวิธีการที่เหมาะสม, พร้อมทั้งติดตามรวบรวมข้อมูลเพื่อใช้วิเคราะห์และประเมินผลในระยะยาวต่อไป. นอกจากนี้ควรจะติดตามผลการใช้วัสดุรองบ่อน้ำจากแหล่งต่าง ๆ ในประเทศและประยุกต์การใช้แผ่นยางในงานอื่น ๆ เช่น การรองบ่อตกเกลือ, การใช้เป็นวัสดุรองหลังคา ฯลฯ. - ผู้แต่งสาระสังเขป: ในรายงานฉบับนี้ วท. ได้ศึกษาสภาวะการณ์และปัญหาด้านเทคโนโลยีและอุตสาหกรรมวัสดุรองบ่อน้ำเพื่อพิจารณาความเป็นไปได้ในการทำยางพาราให้เป็นแผ่นยางสำหรับรองบ่อน้ำ, โดยรวบรวมข้อมูลวัสดุสำหรับรองบ่อน้ำซึ่งได้มีการศึกษาและค้นคว้ากันแล้วมาเปรียบเทียบในด้านเทคนิคและเศรษฐกิจ. จากข้อมูลเบื้องต้นพบว่าวัสดุที่ใช้ในประเทศปัจจุบันได้แก่ ดินเหนียว, คอนกรีต และแผ่นพลาสติก. ส่วนยางสังเคราะห์ซึ่งนิยมใช้ในต่างประเทศเป็นที่ทราบกันว่ามีความคงทนต่อดินฟ้าอากาศนั้น ยังไม่มีการใช้แพร่หลายในประเทศ เนื่องจากมีราคาแพงและต้องนำเข้าจากต่างประเทศ. สำหรับดินเหนี่ยวนั้นเป็นวัสดุที่ใช้ชั่วคราวและต้องมีการซ่อมแซมเป็นประจำ. ส่วนคอนกรีตแม้จะมีราคาสูงแต่ก็เป็นที่รู้จักกันแพร่หลายและยังเป็นที่นิยมมใช้ทั่วไป. ในระยะหลังนี้ได้มีการนำแผ่นพลาสติกประเภทพีวีซี และโพลิเอทิลีน ซึ่งมีราคาถูกมาใช้เป็นวัสดุรองบ่อน้ำมากขึ้น แม้ว่าอายุการใช้งานของพลาสติกยังไม่เป็นที่ทราบแน่นอน. อย่างไรก็ตามจากการศึกษานี้พบว่าอายุการใช้งานของวัสดุจะขึ้นกับการเตรียมพื้นที่และวิธีการเตรียมพื้นที่และวิธีการติดตั้งแผ่นเป็นอย่างมากด้วย. หากมีวิธีการเตรียมที่ดีและถูกต้องโดยเฉพาะสำหรับแผ่นพลาสติกหรือวัสดุ ซึ่งไม่ทนต่อสภาพอากาศ, ถ้าใช้วัสดุ เช่น ดินกลบทับ ก็จะทำให้อายุการใช้งานยาวนานพอกัน กล่าวได้ว่าสำหรับทางด้านการตลาดของวัสดุรองบ่อนั้น นอกจากราคาและคุณภาพของวัสดุที่เหมาะสมแล้วการให้คำแนะนำในด้านต่าง ๆ ได้แก่ การคัดเลือกพื้นที่, การปรับเตรียมดิน และการติดตั้งก็เป็นสิ่งจำเป็นต่อการแข่งขันทางด้านตลาดด้วยเหมือนกัน.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ชนิดของทรัพยากร Location Call number สถานะ Last seen Copy No. บาร์โค้ด
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 1 RP1987/769
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 2 RP1987/769-2

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300