การพัฒนาการผลิตสารสกัดพืชสมุนไพรในระดับกึ่งอุตสาหกรรม = Development on pilot scale production of herbal extracts / Jirawat Eiamwat [et al.]

โดย: Jirawat Eiamwat
ผู้แต่งร่วม: Jirawat Eiamwat | Sitthipong Soradech | Tanwarat Kajsongkram | Sukit Kampreungdet | จิระวัฒน์ เอี่ยมวัฒน์ | สิทธิพงศ์ สรเดช | ธัญวรัตน์ กาจสงคราม | สุกิจ ขำเปรื่องเดช
BCG: สมุนไพร TRM: สุขภาพ กลุ่มสมุนไพร ชื่อชุด: Res. Proj. no. 58-24, Sub Proj. no. 7; no. 1 (Final report)ข้อมูลการพิมพ์: Pathumthani : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 2024 รายละเอียดตัวเล่ม: 34 p. : tables, ill. ; 30 cm.ชื่อเรื่องอื่นๆ: โครงการวิจัยที่ ภ.58-24 การวิจัยและพัฒนานวัตกรรมสุขภาพเพื่อต้านความเสื่อมของเซลล์ร่างกายผู้สูงอายุจากพืชสมุนไพรหัวเรื่อง: เอนไซม์ไทโรซิเนส | สารสกัดใบย่านาง | สารฟีนอลิกสารสนเทศออนไลน์: Click here to access Full-text สาระสังเขป: In this study, leaf extracts of Yanang (Tiliacora triandra) were obtained by batch stirring extraction (BSE) using 70% ethanol as solvent. The effect of different temperatures (30 oC, 40 oC, 50 oC) on the extraction yield, total phenols, antioxidant activity and stimulation of tyrosinase activity were studied. The results were compared to those obtained by m oC had 11.8% yield, and exhibited better antioxidant and tyrosinase activities with the IC50 and SC50 values of 0.097 mg/ml and 3.464 mg/ml, respectively. The BSE method at 40 oC was more efficient for the extraction of T. triandra leaves and provided the extract with better extraction yield, total phenolics and activities, compared to the traditional ME methodสาระสังเขป: งานวิจัยนี้ได้ศึกษาวิธีการสกัดใบย่านางด้วยตัวทำละลายเอทานอลร้อยละ 70 โดยวิธีการสกัดแบบแช่ที่อุณหภูมิห้อง เทียบกับวิธีการกวนที่อุณหภูมิ 30, 40 และ 50 องศาเซลเซียส การศึกษาเปรียบเทียบทั้งสองวิธีโดยการวิเคราะห์หาปริมาณสารฟีนอลิกทั้งหมด, การต้านอนุมูลอิสระ และการกระตุ้นการทำงานของเอนไซม์ไทโรซิเนส จากผลการทดลองพบว่า การสกัดโดยวิธีการกวนที่อุณหภูมิ 40 องศาเซลเซียส ให้ประสิทธิภาพในการสกัดดีที่สุด ให้ปริมาณสารสกัดร้อยละ 11.8 และแสดงการต้านอนุมูลอิสระและการกระตุ้นการทำงานเอนไซม์ไทโรซิเนสที่ดีกว่า โดยมีค่า IC50 และ SC50 0.097 มิลลิกรัม/มิลลิลิตร และ 3.464 มิลลิกรัม/มิลลิลิตร ตามลำดับ วิธีการสกัดด้วยการกวนที่ 40 องศาเซลเซียส มีประสิทธิภาพในการสกัดใบย่านาง โดยให้ปริมาณสารสกัด, ปริมาณสารฟีนอลิกทั้งหมด, การต้านอนุมูลอิสระ และการกระตุ้นการทำงานเอนไซม์ไทโรซิเนสที่ดีกว่าวิธีการสกัดแบบแช่
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ไม่มีรายการทางกายภาพสำหรับระเบียนนี้

There are no comments on this title.

to post a comment.

Click on an image to view it in the image viewer

    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300