การพัฒนาการผลิตกรดไขมันไม่อิ่มตัว (PUFAs) เป็นผลิตภัณฑ์อาหารเสริมสุขภาพและเพื่อใช้ในอุตสาหกรรมเลี้ยงสัตว์ทะเล = Development of polyunsaturated fatty acids (pufas) as dietary supplement and mariculture / Vullapa Arunpairojana [et al.] (CONFIDENTIAL)

โดย: Vullapa Arunpairojana
ผู้แต่งร่วม: Vullapa Arunpairojana | Pornpoj Srisukchayakul | Susakul Palakawong Na Ayudthaya | Lawan Chatanon | Jirawat Eiamwat | วัลลภา อรุณไพโรจน์ | พรพจน์ ศรีสุขชยะกุล | สุสกุล ปาลกะวงศ์ ณ อยุธยา | ลาวัลย์ ชตานนท์ | จิระวัฒน์ เอี่ยมวัฒน์
ชื่อชุด: Res. Proj. no. 50-01, no.1 (Final report) (CONFIDENTIAL)ข้อมูลการพิมพ์: Pathumthani : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 2023 รายละเอียดตัวเล่ม: 105 p. : ill. ; 30 cm.ชื่อเรื่องอื่นๆ: โครงการวิจัยที่ ภ.50-01 การพัฒนาการผลิตกรดไขมันไม่อิ่มตัว (PUFAs) เป็นผลิตภัณฑ์อาหารเสริมสุขภาพและเพื่อใช้ในอุตสาหกรรมเลี้ยงสัตว์ทะเลหัวเรื่อง: PUFAs | อุตสาหกรรมเลี้ยงสัตว์ทะเลสาระสังเขป: Arachidonic acid (ARA), a long-chain polyunsaturated fatty acid (PUFA) belonging to the ω-6 class, plays a crucial role in the structures and functions of biological membranes. It is highly abundant in the central nervous system and serves as a precursor for various eicosanoids, prostaglandins, thromboxanes, and leukotrienes, which affect numerous physiological processes in the body. Traditional sources of isolated preparative Arachidonic acid include animal adrenal glands, liver, and sardines. However, these sources have relatively low Arachidonic acid content, necessitating the exploration of alternative sources. In this study, marine gliding bacteria were investigated as a promising source of Arachidonic acid. Many species of the Aureispira genus were found to be rich in Arachidonic acid (40-50%). The culture process of Aureispira bacteria was developed using appropriate culture media and conditions. It was observed that Aureispira bacteria grew well in Tryptic soy agar (TSA) medium prepared with artificial seawater at a temperature of 30°C. The lipid extraction from bacterial cells using Supercritical Fluid (SCF) at temperatures of 80°C, pressure of 500 bars, and a carbon dioxide flow rate of 2 L/min showed better results compared to traditional organic solvent extraction.The safety of Arachidonic acid from bacterial dry cells was tested in rats through oral administration according to the OECD guideline for testing chemicals (2001). The study revealed no lethality or adverse effects on any visceral organs. Additionally, a 30-day feeding trial was conducted to determine the effect of a 5% bacterial dry cell containing Arachidonic acid on the survival and growth rate of juvenile white shrimp (Litopenaeus vannamei), comparing it with a control group. No significant differences were observed between the experimental and control groups. To assess the resistance of shrimps against White Spot Syndrome Virus (WSSV), a 5% bacterial dry cell containing Arachidonic acid was mixed with commercial feed and individually fed to WSSV-free healthy shrimps. After 30 days of feeding, the shrimps were challenged with WSSV. Student's t-test indicated significant differences between the WSSV-infected shrimp treated with the 5% bacterial dry cell containing Arachidonic acid and the control groups. Based on the current data, the supplementation of shrimp feed with a 5% bacterial dry cell containing Arachidonic acid demonstrates biological feasibility in mitigating shrimp viral pathogenesis, making it a potential recommendation for shrimp culture. However, further experiments are required for commercial application สาระสังเขป: กรดอะราชิโดนิก (Arachidonic acid, ARA, 5,8,11,14-eicosatetraenoic acid) เป็นกรดไขมันไม่อิ่มตัวสายยาวในกลุ่มโอเมก้า 6 โดยกรดอะราชิโดนิกเป็นส่วนสำคัญในโครงสร้างและการทำหน้าที่ของเยื่อหุ้มเซลล์ พบได้มากโดยเฉพาะในระบบประสาทส่วนกลาง และยังเป็นสารตั้งต้นของ eicosanoid, prostaglandins, thromboxanes และ leukotrienes อีกด้วย ในปัจจุบันแหล่งที่มาของกรดอะราชิโดนิกส่วนใหญ่สกัดได้มาจากต่อมหมวกไต ตับ ของสัตว์ และปลาซาดีน แต่ปริมาณของกรดอะราชิโดนิกจากแหล่งดังกล่าวค่อนข้างต่ำ ดังนั้นการผลิตกรดอะราชิโดนิกจากไกลดิงแบคทีเรียจากทะเลจึงเป็นอีกทางเลือกหนึ่ง จากการศึกษาพบว่าไกลดิงแบคทีเรียในสกุล Aureispira มีปริมาณกรดอะราชิโดนิกสูงถึง 40-50 เปอร์เซ็นต์ กระบวนการเพาะเลี้ยงไกลดิงแบคทีเรียในสกุล Aureispira ถูกพัฒนาภายใต้อาหารและสภาวะที่เหมาะสม โดยพบว่าอาหารที่เหมาะสมต่อการเจริญของไกลดิงแบคทีเรียในสกุล Aureispira คือ สูตรอาหาร TSA ซึ่งเตรียมโดยใช้น้ำทะเลเทียม และ ทำการเพาะเลี้ยงที่อุณหภูมิ 30 องศาเซลเซียส สกัดกรดไขมันจากเซลล์ไกลดิงแบคทีเรีย ด้วยวิธี Supercritical fluid (SCF) ภายใต้สภาวะการสกัดดังนี้ คือ อุณหภูมิ 80 องศาเซลเซียส ความดัน 500 บาร์ และแรงดันคาร์บอนไดออกไซด์เท่ากับ 2 ลิตรต่อนาที พบว่าได้ผลดีกว่าการสกัดด้วยตัวทำละลาย จากการทดสอบความเป็นพิษของเฉียบพลันทางปากตามวิธีทดสอบหมายเลข 420 ของ OECD Guideline for Testing of Chemicals (2001) พบว่าเซลล์แห้งที่มีกรดอะราชิโดนิกสูงไม่มีความเป็นพิษต่อหนู และจากผลการทดสอบการเจริญและอัตราการรอดของลูกกุ้งขาว Litopenaeus vannamei ด้วยเซลล์แห้งที่มีกรดอะราชิโดนิก ให้ผลวิเคราะห์ทางสถิตไม่แตกต่างจากชุดควบคุมแต่ผลการทดสอบความสามารถในการต้านทานโรคของลูกกุ้งขาวต่อเชื้อไวรัสดวงขาว (White Spot Syndrome Virus,WSSV) พบว่าเซลล์แห้งที่มีกรดอะราชิโดนิกสามารถลดอัตราการตายของลูกกุ้งได้มากกว่าชุดควบคุม ผลการทดลองดังกล่าวจะแสดงให้เห็นถึงความเป็นไปได้ในการผลิตอาหารเสริมสำหรับเลี้ยงลูกกุ้งที่มีความต้านทานต่อเชื้อไวรัสดวงขาว อย่างไรก็ตามยังจำเป็นต้องมีการศึกษาวิจัยเพิ่มเติมก่อนการผลิตทางการค้า
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ไม่มีรายการทางกายภาพสำหรับระเบียนนี้

There are no comments on this title.

to post a comment.

Click on an image to view it in the image viewer

    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300