การวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์โพรไบโอติกสำหรับผู้ที่มีภาวะโรคลำไส้แปรปรวน = Research and development of probiotic products for the people with irritable bowel syndrome / Supaporn Lekhavat [et al.] (CONFIDENTIAL)

โดย: Supaporn Lekhavat
ผู้แต่งร่วม: Supaporn Lekhavat | Supatjaree Ruengsomwong, | Pennapa Chonphathompikunlert | Tuanta Sematong | Wiphaporn Phatvej | Boonruksa Gussayakorn | Nowwapan Donrung | Sasiwimon Ponyiam | Ubolwanna Srimongkoluk | สุภาภรณ์ เลขวัต | สุภัจรี เรืองสมวงศ์ | เพ็ญนภา ชลปฐมพิกุลเลิศ | อุบลวรรณา ศรีมงคลลักษณ์ | เตือนตา เสมาทอง | วิภาพร พัฒน์เวช | บุญรักษา กัสยากร | เนาวพันธ์ ดลรุ้ง | ศศิวิมล พลเยี่ยม
BCG: อาหาร TRM: อาหาร Language: Thai ชื่อชุด: โครงการวิจัยที่ ภ.64-06/ย.1/รายงานฉบับที่ 1 (ฉบับสมบูรณ์)ข้อมูลการพิมพ์: Pathumthani : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 2565 รายละเอียดตัวเล่ม: 132 p.ชื่อเรื่องอื่นๆ: ข้อมูลอนุสิทธิบัตร : สูตรและกรรมวิธีการผลิตเครื่องดื่มโยเกิร์ตจากถั่วชิกพีเสริมโพรไบโอติกรูปแบบพร้อมชง | โครงการวิจัยที่ ภ.64-06 การวิจัยและพัฒนานวัตกรรมอุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์ฟังก์ชันนัลจากโพรไบโอติก (TISTR strains) เพื่อสุขภาวะและความงามของประชากรย่างเข้าสู่ภาวะสูงวัยหัวเรื่อง: โพรไบโอติกสาระสังเขป: This project aimed to study and select microorganism strains that provided probiotic properties related to irritable bowel syndrome (IBS). Prebiotic activity (PA) scores assessment of 6 types of flour prepared from white radish, boiled white radish, Hom Thong bananas, Namwa bananas, Jerusalem artichoke and Hydrolyzed Konjac were evaluated. Then encapsulation technique was applied to protect probiotic strains using the freeze drying process. Acute toxicity assessment, pharmacological testing and survival rate of encapsulated probiotics after freeze drying and exposure to simulated gastric juice were determined. Finally, functional products fortified with mixed encapsulated probiotics were developed and shelf-life stability of the product, at least 3 months, were examined. The results showed that three strains of probiotic bacteria, namely, Lactobacillus paracasei, Lactobacillus acidophilus and Bifidobacterium animalis, are related to irritable bowel syndrome (IBS). After assessment of prebiotic activity (PA) scores of 6 types of flour, it was found that radish either fresh or boiled has a high PA score (15-20) that can promote the growth of L. paracasei. Furthermore, it was found that the growth rate of all probiotic strains in testing media containing boiled white radish is better than others and closely to media containing fructooligosaccharide and commercial media. By encapsulation technique using mixed prebiotic flour, it was found that cells encapsulated with recipes containing white radish, Kluai Hom Thong bananas and Hydrolyzed Konjac can protect cells more than 90 % after freeze drying. For acute oral toxicity testing, it was found that mixed strains of encapsulated L. paracasei and L. acidophilus are in category 5 following Globally Harmonized System of Classification and Labelling of Chemicals (GHS) or unclassified and has LD50 greater than 5,000 milligram/kilogram body weight. The results also showed that both encapsulated strains can reduce diarrhea which is one of IBS symptoms better than taking a pill, such as Pinaverium Bromide which is widely used for IBS. Functional food products fortified with encapsulation such as instant chickpea yogurt and crispy squid were developed. After storage for 3 months, it showed that the product kept at 4 degrees Celsius remained a viable cell in high level compared to a product that kept at room temperature.สาระสังเขป: โครงการวิจัยทำการศึกษาและคัดเลือกสายพันธุ์จุลินทรีย์ที่มีคุณสมบัติโพรไบโอติกที่มี ความสัมพันธ์ต่ออาการของโรคลำไส้แปรปรวน ศึกษาและคัดเลือกแป้งจากพืช 6 ชนิด ที่มีคุณสมบัติ พรีไบโอติกที่เตรียมจากหัวไชเท้า, หัวไชเท้าต้ม, กล้วยหอมทอง, กล้วยนํ้าว้า, แก่นตะวัน และบุกที่ ผ่านการย่อย โดยใช้เทคนิคเอนแคปซูเลชันในการปกป้องเซลล์หลังผ่านการทำแห้งแบบแช่เยือกแข็ง ทำการประเมินความปลอดภัยโดยการทดสอบความเป็นพิษแบบเฉียบพลัน ทดสอบฤทธิ์ทางเภสัช วิทยาต่อโรค และวิเคราะห์อัตราการรอดชีวิตของเชื้อหลังผ่านการทำแห้งแบบแช่เยือกแข็งและผ่าน ระบบนํ้าย่อยจำลอง จากนั้นทำการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารฟังก์ชันเสริมโพรไบโอติกและทดสอบ อัตราการอยู่รอดของจุลินทรีย์โพรไบโอติกระหว่างการเก็บรักษาเป็นระยะเวลาอย่างน้อย 3 เดือน. จากผลการทดลองพบว่าเชื้อโพรไบโอติกสายพันธุ์จำนวน 3 สายพันธุ์ ที่มีสัมพันธุ์กับโรคลำไส้ แปรปรวน ได้แก่ Lactobacillus paracasei (Im2), Lactobacillus acidophilus (Im10) และ Bifidobacterium animalis (Im B20) ซึ่งหลังจากทำการประเมินค่ากิจกรรมพรีไบโอติก (PA) ของ แป้งจากพืช 6 ชนิด พบว่าแป้งหัวไชเท้าทั้งชนิดดิบและชนิดต้มมีค่า PA สูง (15-20) ซึ่งส่งเสริมการ เจริญของ L. paracasei ได้ดี และส่งเสริมการเจริญของเชื้อที่ดีว่าแป้งชนิดอื่นและมีค่าใกล้เคียงกับ อาหารทดสอบที่มีฟรักโทโอลิโกแซ็กคาไรด์และอาหารเลี้ยงเชื้อทางการค้า และจากการเตรียมเชื้อ โพรไบโอติกด้วยเทคนิคเอนแคปซูเลชันโดยเลือกใช้แป้งที่มีสมบัติพรีไบโอติก พบว่าการเอแคปซูเลชัน เซลล์ด้วยแป้งที่มีสัดส่วนของแป้งหัวไชเท้า แป้งกล้วยหอมทอง และแป้งบุก สามารถปกป้องเซลล์หลัง การทำแห้งแบบแช่เยือกแข็งได้มากกว่า 90 เปอร์เซ็นต์. ผลการประเมินความปลอดภัยพบว􀅠าเชื้อโพรไบโอติกที่ผ􀅠านการห􀅠อหุ􀅡มเซลล􀅤ด􀅡วยแป􀅜งพรี- ไบโอติกสายพันธุ์ L. paracasei และ L. acidophilus สามารถจัดระดับความเป􀅨นพิษตาม Globally Harmonized System of Classification and Labelling of Chemicals - GHS อยู􀅠 ใน category 5 หรือ unclassified และมีค􀅠า LD50 มากกว􀅠า 5,000 มิลลิกรัม/กิโลกรัม น้ำหนักตัว และ พบว่าเชื้อทั้งสองสายพันธุ์ยังสามารถลดอาการท้องเสียได้ดีกว่าการได้รับยา Pinaverium Bromide (20 มิลลิกรัม/กิโลกรัม) ซึ่งเป็นยาที่นิยมใช้รักษาอาการของโรคลำไส้แปรปรวน ผลิตภัณฑ์อาหารฟังก์ชันนัล เสริมโพรไบโอติกที่ได้รับการพัฒนา ได้แก่ ผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มโยเกิร์ตจากถั่วชิกพีรูปแบบพร้อมดื่มและผลิตภัณฑ์ หมึกแผ่นอบกรอบ ซึ่งพบว่ายังคงมีปริมาณเซลล์ที่มีชีวิตในปริมาณสูงหลังการเก็บรักษาที่อุณหภูมิ 4 องศา- เซลเซียส เมื่อเปรียบเทียบกับผลิตภัณฑ์ที่เก็บรักษาที่อุณหภูมิห้อง.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ไม่มีรายการทางกายภาพสำหรับระเบียนนี้

There are no comments on this title.

to post a comment.

Click on an image to view it in the image viewer

    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300