การพัฒนาผลิตภัณฑ์ยาชะล้างแผลจากไพล= Development of a soaking solution from phlai/ Chantara Phoonsiri [et al.] (CONFIDENTIAL)

โดย: Chantara Phoonsiri
ผู้แต่งร่วม: Chantara Phoonsiri | Chuleratana Banchonglikitleul | Pattra Ahmadi Pirshahid | Amonrat Khayangarnnawee | Rattnasiri Giwanon | Wipaporn Phatvej | Tuanta Semathong | Ubol Reuk-um | Pakpoom Sirirachavattana | Sariya Reungpatthannapong | Sin Tangsathirapakdee | Sawai Nakakaew | Wicheian Khoeynuak | Thanayut Srisom | Kannokkarn Chijalean | Taweesak Suntorntanasat | Vullapa Arunpairojana | ฉันทรา พูนศิริ | ชุลีรัตน์ บรรจงลิขิตกุล | ภัทรา อะหมะดี พีรซะหีด | อมรรัตน์ ขยันการนาวี | รัตนศิริ จิวานนท์ | วิภาพร พัฒน์เวช | เตือนตา เสมาทอง | อุบล ฤกษ์อ่ำ | ภาคภูมิ ศิริอาชาวัฒนา | สรียา เรืองพัฒนพงษ์ | สิน ตั้งสถิรภักดี | ไสว นาคาแก้ว | วิเชียร เขยนอก | ธนายุทธ ศรีสม | กนกกาญจน์ ชิตเจริญ | ทวีศักดิ์ สุนทรธนศาสตร์ | วัลลภา อรุณไพโรจน์
ชื่อชุด: Res. Proj. no. 49-21, Sub Proj. no. 10; no.1 (Final report) (CONFIDENTIAL)ข้อมูลการพิมพ์: Pathumthani : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 2023 รายละเอียดตัวเล่ม: 92 p. : ill. ; 30 cm.ชื่อเรื่องอื่นๆ: โครงการวิจัยที่ ภ.49-21 ชุดโครงการวิจัยและพัฒนาการบูรณาการสมุนไพร "ไพล"หัวเรื่อง: ไพลสาระสังเขป: The objective of this project is to utilize "Phlai" (Zingiber montana Koen.) as an active substance of wound healing preparation. Phlai oil could inhibit wound pathogens as well as "Sabsua" (Chromolaena odorata L.) which also possessed haemostatic activity. Phlai oil and Sabsau extract were then used to develop Phlai lotion . Study of antimicrobial activity revealed that Phlai lotion could inhibit Staphylococcus aureus ATCC 25923, Streptococcus pyogenes DMST 17920, Pseudomonas aeruginosa ATCC 27853, Candida tropicalis DMST 22411, Acetobacter baumannii DMST 17794 and gave more clear zone than Tea tree ointment from Australia. Wound healing activity study showed that phlai lotion could minimize the excision wound size but Histopathological study of wound tissue treated with Phlai lotion showed histology score less than other treated groups. Safety evaluation of Phlai lotion was performed and revealed no indication of skin irritation and skin sensitization, the acute dermal toxicity test and acute oral toxicity test were more than 2,000 mg/kg body weight of dosesสาระสังเขป: การพัฒนาผลิตภัณฑ์ยาชะล้างแผลจากไพล มุ่งหวังที่จะใช้ประโยชน์ของไพลในการรักษาแผล ฆ่าเชื้อจุลินทรีย์ก่อโรคที่อาจเกิดขึ้นบนบาดแผล โดยน้ำมันไพลให้ฤทธิ์ในการต้านเชื้อจุลินทรีย์ก่อโรค เสริมกับฤทธิ์ในการต้านเชื้อจุลินทรีย์และฤทธิ์ในการห้ามเลือดของสาบเสือ จึงได้พัฒนาเป็นรูปแบบผลิตภัณฑ์โลชันรักษาแผล โดยผลิตภัณฑ์โลชันไพลมีฤทธิ์ยับยั้งเชื้อ Staphylococcus aureus ATCC 25923, Streptococcus pyogenes DMST 17920, Pseudomonas aeruginosa ATCC 27853, Candida tropicalis DMST 22411 และ Acetobacter baumannii DMST 17794 ให้ผลในการฆ่าเชื้อดีกว่าผลิตภัณฑ์ต่างประเทศที่มี Tea Tree oil เป็นองค์ประกอบ ผลการศึกษาฤทธิ์การรักษาบาดแผลสด พบว่า โลชันไพล สามารถทำให้ขนาดแผลเล็กลงได้ดีเทียบเท่าผลิตภัณฑ์ทดสอบชนิดอื่น แต่ผลจากการศึกษาจุลพยาธิชีววิทยา พบว่า ผลิตภัณฑ์โลชันไพล ให้ฤทธิ์การสมานเนื้อเยื่อด้อยกว่าผลิตภัณฑ์ทดสอบชนิดอื่น การประเมินความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์ พบว่า ผลิตภัณฑ์โลชันไพลไม่ก่อให้เกิดความระคายเคืองต่อผิวหนังและไม่ก่อให้เกิดอาการแพ้ ค่าความเป็นพิษเฉียบพลันทางผิวหนังและทางปากมากกว่า 2,000 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ไม่มีรายการทางกายภาพสำหรับระเบียนนี้

There are no comments on this title.

to post a comment.

Click on an image to view it in the image viewer

    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300