การก่อสร้างอาคารจำลองเพื่อทดสอบภาระการทำความเย็นภายในอาคาร= The building project with permission from leftover materials to test the building's responsibility within the building/ Pichai Wonghan [et al.]

โดย: Pichai Wonghan
ผู้แต่งร่วม: Pichai Wonghan | Weerachai Sunthornrangsan | Thanate Uthisitham | Sattha Kluatham | Chansa Jirasuwan | Panida Thepkhun | Sophon Promsuwan | Borisut Chantarawongpaisan | พิชัย วงศ์หาญ | วีรชัย สุนทรรังสรรค์ | ธเนศ อุทิศธรรม | ศรัทธา วัฒนธรรม | ชันษา จิรสุวรรณ | พนิดา เทพขุน | โสภณ พรหมสุวรรณ | บริสุทธิ์ จันทรวงศ์ไพศาล
ชื่อชุด: Res. Proj. no. 49-10, Sub Proj. no. 2; no.1 (Final report)ข้อมูลการพิมพ์: Pathumthani : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 2023 รายละเอียดตัวเล่ม: 52 p. : ill. ; 30 cm.ชื่อเรื่องอื่นๆ: โครงการวิจัยที่ ภ.49-10 พัฒนาการใช้ประโยชน์จากฉนวนเส้นใยวัสดุเหลือทิ้งในรูปวัสดุก่อสร้างประหยัดพลังงานหัวเรื่อง: ภาระการทำความเย็นสารสนเทศออนไลน์: Click here to access Full-text สาระสังเขป: Thailand is situated in the tropical zone where heat from the outside could through walls into the buildings and responsible for uncomfortable conditions to the residents in the buildings. Hear invasion into buildings could be mitigated by reducing the heat transfer at the buildings outer all which directory contact the outside air. Therefore, the outer walls of buildings should be made by materials with high thermal resistant and low heat capacity. TISTR developed a finishing panel, i.e. 60×60×10 cm, for being used as building' s outer walls. Such a panel was tested to investigate its thermal resistant by attaching finishing panels as the outer wall of a rest room. Two test rooms were constructed for the experiment, one test room used finishing panels as walls and the latter used brick wall. Cooling load of both test rooms were record and compared. Results obtained indicated that finishing panel could reduce cooling load around 16.5%. The numerical result calculated by a simulation program, i.e., visual DOE.4.0E, was not correspondent with experimental data. It is recommended that moisture transport and heat coefficient equation should be added into the simulation program สาระสังเขป: ประเทศไทยตั้งอยู่ในเขตร้อนชื้น ความร้อนที่เกิดขึ้นภายในอาคารจากการส่งผ่านความร้อนจากภายนอกอาคารเข้าภายในอาคาร ซึ่งทำให้เกิดความรู้สึกไม่สบายต่อผู้ที่พักอาศัยในอาคาร การลดความร้อนที่ส่งผ่านเข้ามาอาจใช้วิธีการป้องกันความร้อนผ่านผนังอาคารที่สัมผัสกับอาการภายนอกโดยตรง ดังนั้นวัสดุที่ใช้เป็นผนังภายนอกควรมีคุณสมบัติในการต้านทานความร้อน และไม่สะสมความร้อนหรือมีความจุความร้อนต่ำเช่นวัสดุที่มีมวลสารต่ำ. วว. ได้พัฒนาแผ่นผนังสำเร็จรูปขนาดกว้าง 60 เซนติเมตร ยาว 60 เซนติเมตร หนา 10 เซนติเมตร ซึ่งแผ่นผนังสำเร็จรูปประกอบด้วย กระเบื้องแผ่นเรียบหนา 0.6 เซนติเมตร ช่องว่างอากาศกว้าง 7.5 เซนติเมตร และแผ่นยิปซัมหนา 0.9 เซนติเมตร เพ้นท์ผนังสำเร็จรูปดังกล่าวได้รับการทดสอบประสิทธิภาพการต้านทานความร้อนโดยการนำไปทำผนังบ้านจำลอง ในการทดลองนี้ วว. ได้สร้างบ้านจำลองสองหลัง หลังที่ 1 ผนังบ้านทำด้วยแผ่นผนังสำเร็จรูปที่พัฒนาโดย วว. และหลังที่ 2 ผนังทำด้วย อิฐบล็อกแล้วเปรียบเทียบภาระการทำความเย็นของเครื่องปรับอากาศภายในบ้านทั้งสองหลัง ภายใต้สภาพอากาศและอุณหภูมิภายนอกของฤดูฝน กลางเดือนกรกฎาคมถึงเดือนกันยายน 2551 ซึ่งสภาพอากาศภายนอกมีฝนตกฟ้าสลัว สลับกับสภาวะท้องฟ้าโปร่งใส ผลการทดสอบแสดงผลลัพธ์ซึ่งบ่งชี้ว่าบ้านที่ผนังทำด้วยแผ่นผนังสำเร็จรูปที่พัฒนาโดย วว. สามารถลดภาระการทำความเย็นของเครื่องปรับอากาศได้มากถึงร้อยละ 16.54 เมื่อเปรียบเทียบกับผนังอิฐบล็อก ผลการคำนวณเชิงตัวเลขโดยใช้โปรแกรม การคำนวณเชิงตัวเลขโดยใช้โปรแกรม Visual DOE.4.0E เพื่อเปรียบภาระการทำความเย็นกับค่าวัดจริงพบว่าการคำนวนภาระการทำความเย็นโดยการใช้โปรแกรม Visual DOE.4.0E ไม่สอดคล้องกับค่าการทดลองวัดจริงการใช้โปรแกรม Visual DOE.4.0E ควรปรับปรุงโดยการเพิ่มสมการเขาในโมเดลทางคณิตศาสตร์ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับความชื้นและค่าสัมประสิทธิการถ่ายเทความร้อนที่เปลี่ยนแปลงตามอุณหภูมิ.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ไม่มีรายการทางกายภาพสำหรับระเบียนนี้

There are no comments on this title.

to post a comment.

Click on an image to view it in the image viewer

    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300