การพัฒนาเทคโนโลยีการสกัดโปรตีนไอโซเลทจากพืชฐานชีวภาพของไทย = Development of technology for extraction isolated protein from plants in Thailand's biodiversity / Chiramet Auranwiwat [et al.] (CONFIDENTIAL)

โดย: Chiramet Auranwiwat
ผู้แต่งร่วม: Chiramet Auranwiwat | Siriporn Butsrikhot | Waraporn Sorndech | Thongkorn Ploypetchara | Wiriyaporn Sumsakul | Sinee Siricoon | จิรเมธ อุฬารวิวัฒน์ | ศิริพร บุตรสีโคตร | วราภรณ์ ศรเดช | ทองกร พลอยเพชรา | วิริยาภรณ์ สุ่มสกุล | สินี ศิริคูณ
BCG: อาหาร TRM: อาหาร ชื่อชุด: Res. Proj. no. 65-22, Sub Proj. no. 1; no.1 (Final report) (CONFIDENTIAL)ข้อมูลการพิมพ์: Pathumthani : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 2023 รายละเอียดตัวเล่ม: 58 p. : ill. ; 30 cm.ชื่อเรื่องอื่นๆ: โครงการวิจัยที่ ภ.65-22 เทคโนโลยีการผลิตของโปรตีนและอนุพันธ์โปรตีนจำกพืชฐานชีวภาพของไทยหัวเรื่อง: โปรตีนไอโซเลทสาระสังเขป: In the 21st century, alternative protein sources have gained popularity, with plant-based protein being one of the most commonly used sources. In Thailand, research has been conducted on protein extraction using the physicochemical properties of plant proteins from various sources including mung bean (Vigna radiata (L.) R. Wilczek), pigeon pea (Cajanus cajan (L.) Millsp.), rice bean (Vigna umbellata), and tiger stripe peanut (Arachis hypogaea L.), which are found in different parts of the country. Alkaline acid extraction was used with a pH range of 9-12, followed by protein precipitation at pH 4.5, resulting in protein contents ranging from 69.59% to 85.04% on a dry basis, and percent recovery between 50.78% to 89.25%. The extraction yield ranged from 13.35% to 20.51%. Mung bean exhibited the highest protein content, extraction yield, and percent recovery at 85.04%, 20.51%, and 89.25%, respectively. The physicochemical properties of the extracted proteins were also examined, with moisture content and aW values of the protein powder ranging from 4.88% to 10.44% and 0.26 to 0.46, respectively. Water and oil adsorption capacities were determined, with water absorption amount ranging from 0.08 to 3.71 g H2O/g protein, and oil absorption ranging from 0.87 to 2.50 g oil/g protein. Emulsion property and stability were found to be between 52.20% and 55.66%, and 51.65% to 52.80%, respectively, while foam capacity ranged from 18.23% to 40.36%, and foam stability ranged from 7.38% to 84.46%. สาระสังเขป: โปรตีนทางเลือกได้รับความนิยมเพิ่มมาขึ้นในปัจจุบัน โปรตีนจากพืชเป็นหนึ่งในตัวเลือกของโปรตีนทางเลือกที่มีสัดส่วนโปรตีนเป็นองค์ประกอบอยู่สูง การศึกษาการสกัดโปรตีนอาศัยคุณสมบัติด้านเคมีฟิสิกส์ของพืชโปรตีนที่ในฐานชีวภาพของไทย ในการศึกษาครั้งนี้ประกอบด้วยถั่วเขียว, ถั่วมะแฮะ, ถั่วนิ้วนางแดง และถั่วลายเสือ ซึ่งสามารถพบได้ในแต่ละภูมิภาคของประเทศไทย การสกัดโปรตีนด้วยการสกัดกรด-เบส โดยศึกษาการสกัดที่ pH 9-12 และตกตะตอนโปรตีนที่ pH 4.5 โดยพบว่าผงโปรตีนที่สกัดได้มีโปรตีนอยู่ในช่วง 69.59-85.04 และร้อยละการผลิตอยู่ที่ 13.35-20.51% ถั่วเขียวมีปริมาณโปรตีนสูงสุดที่ 85.04% ร้อยละการผลิตที่ 20.51 และร้อยละการกลับคืนที่ 89.25 ตามลำดับ นอกจากนี้มีการศึกษาสมบัติด้านเคมีฟิสิกส์ พบว่าค่าความชื้นและปริมาณน้ำอิสระอยู่ที่ 4.88-10.44% และ 0.26-0.46 ตามลำดับ การทดสอบความสามารถในการอุ้มน้ำและน้ำมัน พบว่าโปรตีนผงมีความสามารถในการดูดซับน้ำอยู่ระหว่าง 0.08-2.70 กรัมน้ำต่อกรัมโปรตีน และความสามารถในการอุ้มน้ำมันที่ 0.87-2.50 กรัมน้ำมันต่อกรัมโปรตีน ความสามารถในการเกิดอิมัลชันและความเสถียรของอิมัลชันอยู่ที่ 52.20-55.66% และ 51.65-52.80% ตามลำดับ และความสามาถในการเกิดโฟมอยู่ระหว่าง 18.23-40.36% และความเสถียรของโฟมอยู่ในช่วง 7.38-84.46%
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ไม่มีรายการทางกายภาพสำหรับระเบียนนี้

There are no comments on this title.

to post a comment.

Click on an image to view it in the image viewer

    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300