การวิจัยทางเคมีและฤทธิ์ทางชีวภาพของสารสำคัญที่แยกได้จากผลลองกอง = Research on chemical constituents and their biological properties of long-kong fruits / Prapaipat Klungsupya [et al.]

โดย: Prapaipat Klungsupya
ผู้แต่งร่วม: Prapaipat Klungsupya | Sarunya Laovitthayanggoon | Thanchanok Muangman | Ubon Rerk-Am | Bhusita Wannissorn | Jeerayu Thongdon-A | Sareeya Reungpattanapong | Chuleratana Bunchonglikitkul | ประไพภัทร คลังทรัพย์ | ศรัญญา เหล่าวิทยางค์กูร | ธัญชนก เมืองมั่น | อุบล ฤกษ์อ่ำ | ภูษิตา วรรณิสสร | จีรายุ ทองดอนเอ | กฤติยา ทิสยากร | สรียา เรืองพัฒนพงศ์ | ศรีศักดิ์ ตรังวัชรกุล | ชุลีรัตน์ บรรจงลิขิตกุล
Language: English ชื่อชุด: Res. Proj. no. 52-04, Sub Proj. no. 2 (Final report)ข้อมูลการพิมพ์: Pathumthani : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 2012 รายละเอียดตัวเล่ม: 89 p.ชื่อเรื่องอื่นๆ: RESEARCH PROJECT NO. 52-04 / SUB. NO. 2/REP. NO. 1 (FINAL REPORT) RESEARCH ON CHEMICAL CONSTITUENTS AND THEIR BIOLOGICAL PROPERTIES OF LONG-KONG FRUITSหัวเรื่อง: ลองกองสารสนเทศออนไลน์: Click here to access Full-text สาระสังเขป: Lansium domesticum Corr. (Meliaceae) is an economic plant and widely grown in the Southern, Eastern and Northern parts of Thailand. The fruits of L domesticum (LD) are very popular in Thailand and commonly called "Long-Kong". This study was performed to investigate the biological activities of the fruits including anti-oxidant, anti-mutagenic and cytotoxic effects. The dried powder of skins (SK) and seeds (SD) of the long-kong fruits were extracted with 50% and 95% ethanol. The ethanolic extracts were partitioned between dichloromethane (DCM) and 50% aqueous ethanol. The aqueous phase was further extracted with ethyl acetate (EA) which twelve fractions were obtained. Their anti-oxidant capacities were firstly determined on superoxide anion (O2.) radicals by photochemiluminescence (PCL) assays of both lipid (ACL) and water (ACW) soluble substance systems. Subsequently, the deoxyribose assays and comet tests were performed to assess their hydroxyl radical (OH-• ) and hydrogen peroxide (H2O2 ) scavenging activities, respectively. Among 12 fractions, the results revealed a high antioxidant potential of the LDSK50-EA fraction in both hydrophilic and lipophilic antioxidant systems. Moreover, its anti-mutagenic effect was investigated against mitomycin C (MMC) in TK6 human lymphoblasts using cytokinesis-blocked micronucleus (CBMN) assay. Lastly, thin layer 1 Pharmaceutical and Natural Products Department, Thailand Institute of Scientific and Technological Research (TISTR) 2 Bioscience Department, TISTR. 3 Food Technology Department, TISTR. 2 chromatography (TLC) technique was conducted in order to identify some phytochemical substances. The TLC results exhibited the presence of scopoletin (Rf 0.44), rutin (Rf 0.34) and chlorogenic (Rf 0.49) in LDSK50-EA fraction. The fruitful results generated in this study led to the development of healthy products i.e. healthy drinks and cosmetics containing the active antioxidant and antimutagenic L domesticum fraction. สาระสังเขป: ลองกอง ชื่อวิทยาศาสตร์คือ Lansium domesticum Corr. อยู่ในวงศ์ Meliaceae เป็นพืช เศรษฐกิจที่ปลูกมากทางภาคใต้ของประเทศและเป็นผลไม้ที่คนไทยนิยมบริโภคอย่างมาก วัตถุประสงค์ของโครงการวิจัยนี้เพื่อศึกษาองค์ประกอบทางเคมีและฤทธิ์ทางชีวภาพของสารสกัดจาก ส่วนต่างๆ ของผลลองกอง ได้แก่ ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ, ฤทธิ์ต้านการก่อกลายพันธุ์ และความเป็นพิษ ต่อเซลล์. เตรียมสารสกัดจากผงแห้งจากเปลือกและเมล็ดของผลลองกอง โดยการสกัดด้วย แอลกอฮอล์ที่ความเข้มข้นร้อยละ 50 และ 95. นำไปสกัดแยกต่อโดยใช้ไดคลอโรมีเทนและตามด้วย เอทิลแอซีเทต ซึ่งทำให้ได้สารสกัดจำนวน 12 ตัวอย่าง. เมื่อทดสอบความเป็นพิษต่อเซลล์ด้วยเทคนิค MTT assay พบว่า ไม่ก่อความเป็นพิษทั้งในเซลล์มนุษย์ (TK6 cells) และเซลล์สัตว์ (V79 cells). จ า ก นั้ น น ำ ไป ท ด ส อ บ ฤ ท ธิ์ ต้ า น อ นุ มู ล อิ ส ร ะ ซูเป อ ร์ อ อ ก ไซ ด์(O2-•) ด้ ว ย เท ค นิคphotochemiluminescence (PCL) ซึ่งสามารถตรวจสอบได้ทั้งสารต้านอนุมูลอิสระที่อยู่ในกลุ่มที่ ละลายน้ำและละลายในไขมัน. จากนั้น ทดสอบฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระไฮดรอกซี (OH-•) และไฮโดรเจน เปอร์ออกไซด์ (H2O2) ด้วยเทคนิค deoxyribose assay และ comet assay ตามลำดับ. ผลการ ทดสอบบ่งชี้ว่า ตัวอย่างชั้นเอทิลแอซีเทตของสารสกัดจากเปลือกลองกองด้วย 50% เอทานอล (LDSK50-EA) มีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระสูงที่สุด. โดยออกฤทธิ์ทั้งในกลุ่มที่มีคุณสมบัติละลายในน้ำและ ละลายในไขมัน. เมื่อนำไปทดสอบฤทธิ์ก่อกลายพันธุ์ด้วยเทคนิค micronucleus assay พบว่า สาร สกัดลองกองดังกล่าว นอกจากจะไม่มีคุณสมบัติเป็นสารก่อกลายพันธุ์แล้ว ยังสามารถต้านการกลาย พันธุ์ในดีเอ็นเอในเซลล์เม็ดเลือดขาวมนุษย์ (TK6, ATCC CRL-8015) โดยใช้mitomycin C (MMC) เป็นตัวเหนี่ยวนำ. จากนั้น ได้ตรวจสอบกลุ่มสารสำคัญในตัวอย่างสารสกัดที่มีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ ดังกล่าวด้วยเทคนิค Thin Layer Chromatography (TLC) พบสารสำคัญคือ scopoletin (Rf 0.44), สาร rutin (Rf 0.34) และสาร chlorogenic (Rf 0.49). ผลการวิจัยครั้งนี้เป็นประโยชน์ในการพัฒนา ต่อยอดเป็นผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพจากสารสกัดลองกอง เช่น ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร, ผลิตภัณฑ์ เครื่องสำอางจาก LDSK50-EA, ซึ่งเป็นสารสกัดลองกองที่มีฤทธิ์เด่นในการต้านอนุมูลอิสระ, ไม่มี คุณสมบัติก่อกลายพันธุ์ และไม่เป็นพิษในเซลล์มนุษย์และเซลล์สัตว์ทดลอง.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ไม่มีรายการทางกายภาพสำหรับระเบียนนี้

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300