การศึกษาผลของสายพันธุ์และอายุมันสำปะหลังที่มีต่อการผลิตเอทานอลในระดับโรงงานต้นแบบ = effect of variety and age of cassava on ethanol production in pilot plant scale / Teerapatr Srinorakutara...[et al.]

ผู้แต่งร่วม: Arkom, Pisuit | Artjariyasripong, Suparp | Gerdpratum, Samarn | Inchonbot, Vison | Jitrwung, Rujira | Klongkanngan, Suphat | Kunhanont, Thapparait | Laengthanom, Sittichai | Meeploy, Suthirak | Meeploy, Tawan | Mongcontalang, Boontuan | Mungdee, Narin | Onplad, Wannaluk | Panphan, Vishnu | Prasertphong, Booncherd | Ratanasong, Yoothasak | Saengow, Laaied | Srinorakutara, Teerapatr | Taveeteptaikul, Punnathorn | Vanijkachorn, Songtam | Wuttivej, Ekarat | สมาน เกิดประทุม | สิทธิชัย เลี้ยงถนอม | ละเอียด แซ่โง้ว | เทพฤทธิ์ กัณหานนท์ | สุภัทร์ คล่องการงาน | รุจิรา จิตรหวัง | ปัณณธร ทวีเทพไทกุล | บุญเชิด ประเสริฐพงศ์ | วิษณุ ปั้นพันธุ์ | บุญเตือน มงคลแถลง | ถวัลย์ มีพลอย | สุทธิรักษ์ มีพลอย | นรินทร์ มุ่งดี | ยุทธศักดิ์ รัตนสงฆ์ | ทรงธรรม วานิชขจร | เอกรัตน์ วุฒิเวทย์ | ธีรภัทร ศรีนรคุตร | วรรณลักษณ์ อ่อนพลัด | สุภาพ อัจฉริยศรีพงศ์ | พิศุทธิ์ อาคม | อินชนบท, วิศัลย์ | Thailand Institute of Scientific and Technological Research
Language: Thai ชื่อชุด: Res. Proj. no. 45-02, Sub. Proj. no.1 ; Rep. no. 1 (Final Report)ข้อมูลการพิมพ์: Bangkok: Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 2004 รายละเอียดตัวเล่ม: 66 p. : ill., tablesชื่อเรื่องอื่นๆ: การศึกษาผลของสายพันธุ์และอายุมันสำปะหลังที่มีต่อการผลิตเอทานอลในระดับโรงงานต้นแบบหัวเรื่อง: Alcohol as fuel | Cassava varieties | Ethanol | Harvesting date | เชื้อเพลิงแอลกอฮอล์ | เอทานอล | มันสำปะหลังสารสนเทศออนไลน์: Click here to access cover | Click here to access full-text สาระสังเขป: Among the new cassava varieties, it was found that CMR 35-64-1 was the most suitable variety for anhydrous ethanol production. High starch content was between 28.91 to 30.84%. It gave higher ethanol yield of 0.69, 1.02 and 1.50 cu. m per grown area (rai) at the age of 8, 12, and 18 months respectively than any new varieties. Comparing between CMR 35-64-1 and Rayong 90, it was found that CMR 35-64-1 was more suitable for anhydrous ethanol production and should be promoted for cultivation and harvested at the age of 18 months.สาระสังเขป: From the impact study on economic for anhydrous ethanol production using various cassava varieties, it was found that if farmers grow cassava varieties of Rayong 90 and CMR 35-64-1, they would obtain higher income than any variety due to high starch content in cassava roots, high cassava yield, and high ethanol production. Consequently ethanol production cost per litre will be lower which will therefore lead to sustainable development of ethanol industry in Thailand. - Authors.สาระสังเขป: In this study 7 varieties of cassava consisting of Rayong 5, Rayong 72, Rayong 90, Kasetsart 50, CMR 35-21-199, CMR 35-22-196, and CMR 35-64-1 were obtained from the Department of Agriculture. Among the registered varieties, it was found that Rayong 90 was the most suitable variety for anhydrous ethanol production. High starch content of the variety was between 25.61 to 27.54%. It gave higher ethanol yield of 0.67, 0.86 and 1.01 cu. m per grown area (rai) at the age of 8, 12, and 18 months respectively than any registered varieties. The result from TISTR pilot plant, showed that the yield was 8.38% w/w of anhydrous ethanol concentration or 0.47 g of anhydrous ethanol per g of reducing sugar at 48 h.Review: ในส่วนของสายพันธุ์ที่ผสมขึ้นมาใหม่ พบว่า สายพันธุ์ CMR 35-64-1 มีความเหมาะสมมากสุดเมื่อนำมาผลิตเอทานอลไร้น้ำในโรงงานต้นแบบผลิตแอลกอฮอล์ของ วว.โดยมีองค์ประกอบแป้งเฉลี่ยร้อยละ 28.91-30.84 และให้ผลผลิตเอทานอลไร้น้ำต่อไร่ ที่อายุเก็บเกี่ยว 8, 12, และ 18 เดือน เท่ากับ 0.69, 1.02, และ 1.50 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่มันสำปะหลัง ตามลำดับ และเมื่อเปรียบ เทียบระหว่างสายพันธุ์ระยอง 90 และสายพันธุ์ CMR 35-64-1 จะเห็นว่าสายพันธุ์เดิม รวมทั้งผู้ประกอบการอุตสาหกรรมเอทานอลก็มีต้นทุนการผลิตเอทานอลต่ำลงเมื่อนำสายพันธุ์ดังกล่าวมาใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตเอทานอล.-ผู้แต่ง.Review: การศึกษาผลกระทบทางเศรษฐศาสตร์ในการนำสายพันธุ์มันสำปะหลังที่แตกต่างกันมาใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตเอทานอลไร้น้ำเพื่อนำไปใช้เป็นเชื้อเพลิง พบว่าถ้าเกษตรกรปลูกมันสำปะหลังสายพันธุ์ระยอง 90 และ CMR 35-64-1 เพื่อส่งขายให้กับโรงงานผลิตเอทานอลจะได้รับค่าตอบแทนต่อไร่สูงกว่าการปลูกสายพันธุ์เดิม รวมทั้งผู้ประกอบการอุตสาหกรรมเอทานอลก็มีต้นทุนการผลิตเอทานอลต่ำลงเมื่อนำสายพันธุ์ดังกล่าวมาใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตเอทานอล. - ผู้แต่ง.Review: มันสำปะหลัง 7 สายพันธุ์ที่ใช้ในการศึกษานี้ประกอบด้วย ระยอง 5, ระยอง 72, ระยอง 90, เกษตรศาสตร์ 50, CMR 35-21-199, CMR 35-22-196, และ CMR 35-64-1 ได้รับความอนุเคราะห์จากศูนย์วิจัยพืชไร่ระยอง กรมวิชาการเกษตร จากการทดลองนำมาผลิตเอทานอลไร้น้ำในโรงงานต้นแบบผลิตแอลกอฮอล์ของ วว. พบว่าสายพันธุ์ระยอง 90 มีความเหมาะสมมากสุดในจำนวน สายพันธุ์ที่ได้รับการรับรองแล้ว โดยมีองค์ประกอบแป้งเฉลี่ยร้อยละ 25.61-27.54 และให้ผลผลิต เอทานอลไร้น้ำต่อไร่ ที่อายุเก็บเกี่ยว 8, 12, และ 18 เดือน เท่ากับ 0.67, 0.86, และ 1.01 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่มันสำปะหลัง ตามลำดับ.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ชนิดของทรัพยากร Location Call number สถานะ Last seen Copy No. บาร์โค้ด
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 1 RP2004/1264
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 2 RP2004/1264-2

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300