การพัฒนาบรรจุภัณฑ์สำหรับสารให้ความหวาน = Ddevelopment of retail packaging for sweetener / Bussakorn Praditniyakul...[et al.] (CONFIDENTIAL)

ผู้แต่งร่วม: Deesakul, Wisanee | Pauyaprachat, Khemmarat | Praditniyakul, Bussakorn | Pratheepthinthong, Supoj | Sansupa, Sakkhee | Tungsangprateep, Siriwan | สักขี แสนสุภา | ดีสกุล, วิสะนี | ศิริวรรณ ตั้งแสงประทีป | บุษกร ประดิษฐนิยกูล | สุพจน์ ประทีปถิ่นทอง | เขมรัฐ ปัญญาประโชติ | Thailand Institute of Scientific and Technological Research
Language: Thai ชื่อชุด: Res. Proj. no. 52-06, Sub Proj. no. 9ข้อมูลการพิมพ์: Bangkok : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 2013 รายละเอียดตัวเล่ม: ข, 106 p. : tables, ill. ; 30 cm.ชื่อเรื่องอื่นๆ: การพัฒนาบรรจุภัณฑ์สำหรับสารให้ความหวานหัวเรื่อง: Packaging | Sweetenersสารสนเทศออนไลน์: Click here to access cover สาระสังเขป: The status of packaging for retail sale of sweetener in Thailand including the information about consumer's demand of sweetener packaging both domestically produced and imported, and its targeted customer's consumption were investigated. The results indicated that syrup sweeteners were mostly found in glass jars or bottles, and/or plastic tubes of packing sizes ranged between 20-1,000 g The low moisture powders sweeteners were found in 40-100 multi-layer films in inner packing packed in folding carton and 280 g in standing porch and also 50-100 tablets in multi-layer films packed in folding carton. The newly developed packaging of syrup sweetener was made of glass bottle plastic bottle and portable multi-layer film with paper box with gas and moisture protecting properties during the whole shelf-life period. The syrup was generally packed 250-300 ml. in both of developed glass and plastic bottle and 15 g in portable multi-layer bag and recommended consumption with various soft drinks of 8-20 g per day. In addition, the labeled details on graphic of retail package of the syrup sweeteners enhanced the packaging and consumers requirements.สาระสังเขป: การศึกษาสถานภาพบรรจุภัณฑ์ของสารให้ความหวานในประเทศไทย พบว่า สารให้ความหวานชนิดน้ำเชื่อมนิยมบรรจุในขวดหรือกระปุกแก้ว และขวด/หลอดพลาสติกขนาดบรรจุ 20-1000 กรัม. ส่วนชนิดผงที่มีความชื้นต่ำ มักบรรจุในฟิล์มหลายชั้นทั้งในรูปของซองบรรจุในกล่องกระดาษแข็งขนาดบรรจุ 40-100 ซอง และถุงพลาสติกชนิดตั้งได้ขนาดบรรจุ 280 กรัม และชนิดเม็ด มักใช้เป็นตลับพลาสติกบรรจุแบบบลิสเตอร์ (blister pack) และถุงพลาสติกบรรจุในกล่องกระดาษแข็งอีก ชั้นหนึ่ง ขนาดบรรจุ 50-100 เม็ด. สามารถนำมาใช้เป็นแนวทางในการออกแบบและพัฒนาบรรจุภัณฑ์สำหรับน้ำเชื่อมเข้มข้นที่พัฒนาขึ้น, โดยมีรูปแบบวัสดุที่สามารถป้องกันความชื้นและก๊าซได้ คือ ขวดแก้ว, ขวดพลาสติก และซองพลาสติกขนาดพกพาใช้ร่วมกับกล่องกระดาษ. มีปริมาณแนะนำในการบริโภค ประมาณ 8 -20 กรัม/วัน ร่วมกับเครื่องดื่มชนิดต่างๆ. โดยมีขนาดบรรจุ 250-300 มิลลิลิตร สำหรับขวดแก้วและขวดพลาสติก และ 15 กรัม/ซองพลาสติกขนาดพกพา. ฉลากหรือ กราฟิกบนบรรจุภัณฑ์ออกแบบให้มีรูปลักษณ์สวยงามสะดุดตา, ทันสมัย, สอดคล้องกับความต้องการของผู้บริโภค.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ไม่มีรายการทางกายภาพสำหรับระเบียนนี้

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300