การพัฒนาวัสดุชีวภาพเชิงประกอบ = development of bioplastic composite material / Chutima Eamchotchawalit...[et al.]

ผู้แต่งร่วม: Eamchotchawalit, Chutima | Jaiyu, Arisa | Keawsupsak, Kanungnuch | Phunnoi, Julaluk | Sueprasit, Passakorn | Sumwongsa, Phanthinee | ชุติมา เอี่ยมโชติชวลิต | คนึงนุช แก้วทรัพย์ศักดิ์ | อาริสา ใจอยู่ | จุฬาลักษณ์ พันธ์น้อย | พันธ์ฐิณี สมวงศ์ษา | สืบประสิทธิ์, ภาสกร
Language: English ชื่อชุด: Res. Proj. no. 51-05, Sub Proj. no. 3 ; Rep. no. 1 (Final report) (CONFIDENTIAL)ข้อมูลการพิมพ์: Pathumthani : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 2012 รายละเอียดตัวเล่ม: ซ, 110 p. : tables, ill. ; 30 cm.ISBN: RP2012/1459ชื่อเรื่องอื่นๆ: การพัฒนาวัสดุชีวภาพเชิงประกอบหัวเรื่อง: Bioplastics | Cassava starch | Composite materials | Natural fibres | Polymer biocompositesสารสนเทศออนไลน์: Click here to access cover สาระสังเขป: In this study, polymer biocomposites from cassava starch and natural fiber were prepared by extrusion method. The effects of coir fiber, eucalyptus fiber blended with cassava starch on properties of polymer biocomposite were investigated. The biocomposites from coir and eucalyptus fiber at 5, 10, 15% mixed with cassava starch and glycerine at 95, 90, 85%, respectively, showed an increasing of the tensile strength and moisture resistance when fiber contents were increased. The tensile strength of biocomposite increased from 6 to 14 MPa when adding fiber of 15% and moisture a bsorption decreased from 10.2 to 8.58% with 5% of fiber. Moreover, polymer nanobiocomposites from PLA and nanoclay were also developed in this project. According to the brittle of PLA sheet, nanoclay was mixed with PLA by extrusion to improve the mechanical properties. The amount of nanoclay of 1-2% which was modified surface by organic ammonium salt was mixed with PLA to produce nanocomposite sheet. It was found that % elongation of PLA sheet increased 3-10 times compared to PLA without nanoclay. No change of % elongation was observed when unmodified nanoclay was used. Due to cost effective of PLA compared with the conventional polymer, cassava starch was blended into PLA to reduce costs of biocomposite. Nanoclay and compatibilizer were added to improve the mechanical properties of biocomposite. The results showed that the flexure strength of biocomposite was significantly improved when nanoclay was added. The used of 1% of maleic anhydride and 0.1% of 2,5-bis(tert-butylperoxy)-2,5-dimethylhaxane as a compatibilizer to prepare biocomposite showed the remarkable improvement in flexure strength and compatibility between PLA and starch.สาระสังเขป: โครงการนี้ได้มีการเตรียมพอลิเมอร์ไบโอคอมโพสิทจากแป้งมันสำปะหลังและเส้นใยธรรมชาติโดยวิธีการอัดรีดด้วยความร้อน อิทธิพลของเส้นใยมะพร้าวและเส้นใยยูคาลิปตัสเมื่อถูกเบลนด์รวมกับแป้งมันสำปะหลังที่มีต่อคุณสมบัติของพอลิเมอร์ไบโอคอมโพสิทได้ถูกตรวจสอบ เมื่อมีการใช้เส้นใยมะพร้าวและเส้นใยยูคาลิปตัสในอัตราส่วน 5, 10, 15 เปอร์เซ็นต์ ผสมกับแป้งมันสำปะหลังและกลีเซอรีนในอัตราส่วน 95, 90, 85 เปอร์เซ็นต์, สำหรับการเตรียมไบโอคอมโพสิท พบว่าค่าความต้านทานต่อแรงดึงยืดและความทนต่อความชื้นดีขึ้นเมื่อมีการใช้เส้นใยเพิ่มขึ้น ค่าความต้านทานต่อแรงดึงยืดของไบโอคอมโพสิทเพิ่มขึ้นจาก 6 MPa ไปที่ 14 MPa เมื่อมีการใช้ไฟเบอร์ในอัตราส่วน 15 เปอร์เซ็นต์, ส่วนเปอร์เซ็นต์การดูดความชื้นนั้นลดลงจาก 10.2 ลดเป็น 8.58 เมื่อมีการผสมไฟเบอร์ในอัตราส่วน 5 เปอร์เซ็นต์. นอกจากนี้ในโครงการนี้ได้มีการพัฒนาพอลิเมอร์นาโนไบโอคอมโพสิทจากพีแอลเอและ นาโนเคลย์ เนื่องจากความเปราะของพีแอลเอ ได้มีการผสมนาโนเคลย์เข้ากับพีแอลเอด้วยวิธีการอัดรีดด้วยความร้อนเพื่อปรับปรุงคุณสมบัติเชิงกลของแผ่นพีแอลเอ 1-2% ของนาโนเคลย์ที่มีการดัดแปลงพื้นผิวด้วยเกลือออร์แกนิคแอมโมเนียมเมื่อผสมกับพีแอลเอสำหรับผลิตแผ่นประเภทโนคอมโพสิท พบว่าค่าเปอร์เซ็นต์การยืดตัวของแผ่นพีแอลเอเพิ่มขึ้น 3-10 เท่าเมื่อเทียบกับพีแอลเอที่ไม่มีการเติมนาโนเคลย์ ไม่พบการเปลี่ยนแปลงของเปอร์เซ็นต์การยืดตัวเมื่อใช้นาโนเคลย์ที่ไม่มี การดัดแปลงพื้นผิว. เนื่องจากราคาที่สูงของพีแอลเอเมื่อเทียบกับพอลิเมอร์โดยทั่วไป จึงได้ทำการเบลนด์ผสมแป้งมันสำปะหลังกับพีแอลเอเพื่อลดต้นทุนของไบโอคอมโพสิต, นาโนเคลย์และสารเพิ่มความเข้า กันได้ถูกเติมลงไป เพื่อปรับปรุงคุณสมบัติเชิงกลของไบโอคอมโพสิท, ผลการทดลองแสดงให้เห็นว่าเมื่อเมื่อมีการเติมนาโนเคลย์ลงไปในไบโอคอมโพสิต ค่าความต้านทานต่อแรงดัดโค้งของไบโอคอมโพสิทเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ. สำหรับการใช้ 1% ของมาเลอิคแอนไฮไดร์และ 0.1% ของ 2,5-บิส (เทอร์บิวทิลพอรอกซี) -2,5-ไดเมทิลเฮกเซน เป็นสารที่เพิ่มความเข้ากันได้ในการเตรียมไบโอคอมโพสิท พบว่าสามารถเพิ่มค่าความต้านทานการดัดโค้งและความเข้ากันได้ของพีแอลเอและแป้งอย่างเห็นได้ชัด.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ไม่มีรายการทางกายภาพสำหรับระเบียนนี้

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300