การศึกษาคัดเลือกสายพันธุ์ดาวเรืองเพื่อการสกัดสารแซนโธฟิล = study on varietal selection of marigold for xanthophyll extraction / Decha Boonmalison

ผู้แต่งร่วม: Boonmalison, Decha | Chanthasiri, Suthijet | Iamsub, Kusol | Phukeapuak, Somjit | Puttanasupongse, Anchana | กุศล เอี่ยมทรัพย์ | จันทรศิริ, สุทธิเจตน์ | เดชา บุญมลิซ้อน | อัญชนา พัฒนสุพงษ์ | ภู่แก้วเผือก, สมจิตต์ | Thailand Institute of Scientific and Technological Research Agrotechnology
Language: Thai ชื่อชุด: Res. Proj. no. 38-02, Sub. Proj. no. 3 ; Rep. no.1ข้อมูลการพิมพ์: Bangkok : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 1999 รายละเอียดตัวเล่ม: 26 p.ชื่อเรื่องอื่นๆ: การศึกษาคัดเลือกสายพันธุ์ดาวเรืองเพื่อการสกัดสารแซนโธฟิลหัวเรื่อง: Chiang Rai | Marigolds -- Varieties | Xanthophyllสารสนเทศออนไลน์: Click here to access full-text สาระสังเขป: The objective of this study is to select suitable varieties of marigold for growing in the country as a raw material for xanthophyll extraction for use in feeds industry and to substitute an import of marigold seeds. Collection and evaluation of 40 accessions of marigold were carried out in the northern cntral and northeastern parts of Thailand. Those collected accessions of both orange and yellow flowers were grown in Chiang Rai Province in which the extraction and determination of xanthophyll content were made for further selection.สาระสังเขป: The results of field testing at Chiang Rai show that the orange type with thick multi-petalled (4-5 layers) flower contains the highest average xanthophyll content of 2.3194 mg/g dry weight which is considered to be suitable for commercial extraction of xanthophyll. The study also shows that the other two commercial varieties viz; the yellow and the orange types collected from the flowers market in Bangkok (Pak Khlong Talad) contain respectively as low as 0.2268 and 0.7842 mg/g xanthophyll on dry weight basis. AuthorsReview: งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ในการคัดเลือกสายพันธุ์ดาวเรืองที่มีความเหมาะสมต่อการปลูกภายในประเทศและใช้เป็นวัตถุดิบสำหรับการสกัดสารแซนโธฟิลเพื่ออุตสาหกรรมอาหารสัตว์ และลดปริมาณการนำเข้าเมล็ดพันธุ์จากต่างประเทศ. จากการรวบรวมและประเมินผลสายพันธุ์ดาวเรือง ในประเทศไทยบริเวณภาคเหนือ, ภาคกลาง และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จำนวน 40 สายพันธุ์ โดยการปลูกทดสอบที่ จ.เชียงราย แล้วคัดเลือกและวิเคราะห์สารแซนโธฟิล ทั้งในดอกชนิดสีส้ม และสีเหลือง, ผลจากการคัดเลือกและวิเคราะห์ พบว่าดาวเรืองชนิดดอกสีส้มที่มีกลีบดอกหนาซ้อนเป็นชั้น 4-5 ชั้น มีความเหมาะสมในการนำไปใช้เป็นวัตถุดิบเพื่อการสกัดสารแซนโธฟิลและให้ปริมาณสารแซนโธฟิลสูงกว่าสายพันธุ์อื่นๆ ที่ปลูกในประเทศ คือ มีปริมาณสารแซนโธฟิลเฉลี่ย 2.3194 มิลลิกรัมต่อกรัม (น้ำหนักแห้ง). ส่วนสายพันธุ์การค้าชนิดดอกสีเหลืองดอกซ้อนและกลีบดอกสีส้มจากปากคลองตลาด กรุงเทพฯ จะให้ปริมาณสารแซนโธฟิลเฉลี่ยในปริมาณต่ำกว่า คือ 0.2268 และ 0.7842 มิลลิกรัมต่อกรัม (น้ำหนักแห้ง) ตามลำดับ. - ผู้แต่ง.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ชนิดของทรัพยากร Location Call number สถานะ Last seen Copy No. บาร์โค้ด
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 1 RP1999/1057
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 2 RP1999/1057-2

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300