การศึกษาเบื้องต้นของการใช้ประโยชน์สารไคตินัสต่อการเร่งการเจริญเติบโตของต้นพืช = study on utilization of chitinous materials / Lehduwi, Narisa...[et al.]

ผู้แต่งร่วม: Aiba, Sei-ichi | Laixuthai, Parichart | Lehduwi, Narisa | Sasanarakkij, Suriya | Srikumlaithong, Sumalai | นริศา เหละดุหวิ | เซอิชิ ไอบา | สุมาลัย ศรีกำไลทอง | สุริยา สาสนรักกิจ | ปาริชาติ หลายชูไทย | Thailand Institute of Scientific and Technological Research
Language: English ชื่อชุด: Res. Proj. no. 43-03 ; Rep. no. 1ข้อมูลการพิมพ์: Bangkok : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 2002. รายละเอียดตัวเล่ม: 20 p. : ill., tablesชื่อเรื่องอื่นๆ: การศึกษาเบื้องต้นของการใช้ประโยชน์สารไคตินัสต่อการเร่งการเจริญเติบโตของต้นพืชหัวเรื่อง: Chitooligosaccharide | Chitosan | Hemicellulase | Plant growth regulators | Seed germination | Seeds | Vegetablesสารสนเทศออนไลน์: Click here to access cover | Click here to access full-text สาระสังเขป: Chitooligosaccharide was produced by hydrolyzing 23-30% DA chitosan with hemicellulase at the ratio of chitosan to enzyme 1:0.1 or 1:0.2 at 37 degree celsius. The molecular weight of the oligomer can be determined by incubation period.สาระสังเขป: The effect of chitooligosaccharide on the plant growth was studied by measuring the germination of vegetable seeds. The seeds were classified into 3 groups namely, high rate of germination, moderate rate of germination and low rate of germination. Chitosan and chitooligosaccharide showed no significant effect on the first group whereas chitooligosaccharide at the molecular weight of 19,000c and at the concentration of 3.75 ppm slightly increased the germimation rate of the second group. For the third group, chitooligosaccharide at the molecular weight of 13,000 and at the concentration of 3.75 ppm possessed the highest growth acceleration of Chinese parsley seed.สาระสังเขป: ไคโตโอลิโกแซคคาไรด์ (chitooligosaccharide) ผลิตได้จากการไฮโดรไลส์ (hydrolyyze) ไคโตซาน (chitosan) 20-30% DA (degree of acetylation) ด้วย เอนไซม์เฮมิเซลลูเลส (hemicellulase enzyme) ที่อัตราส่วน ไคโตซาน ต่อ เอนไซม์ 1:0.1 หรือ 1:0.2 ที่อุณหภูมิ 37 องศาเซลเซียส, ขนาดน้ำหนักโมเลกุลของผลิตภัณฑ์ที่ได้ขึ้นกับระยะเวลาในการทำปฏิกิริยาไฮโดรไลซิส (hydrolysis).สาระสังเขป: ผลของไคโตโอลิโกแซคคาไรด์ต่อการเร่งการเจริญเติบโตของต้นพืช ได้ถูกศึกษาในรูปแบบของการเร่งรัดอัตราการงอกของเมล็ด. เมล็ดพัธุ์ผักที่นำมาศึกษาได้ถูกจำแนกเป็น 3 กลุ่ม คือ กลุ่มที่มีอัตราการงอกสูง, กลุ่มที่มีอัตรางอกปานกลาง และกลุ่มที่มีอัตราการงอกต่ำ. ไคโตซาน (chitosan) และไคโตโอลิโกแซคคาไรด์ไม่ให้ผลของอัตราการงอกที่แตกต่างอย่างมีนัยสำคัญสำหรับเมล็ดพืชในกลุ่มที่มีอัตรางอกสูง. ขณะที่เมล็ดพืชในกลุ่มที่มีอัตราการงอกปานกลางให้ผลเล็กน้อยจากการใช้ไคโตโอลิโกแซคคาไรด์ที่ขนาดน้ำหนักโมเลกุล 19,000 ที่ความเข้มข้น 3.75 ส่วนในล้านส่วน. เมล็ดพืชในกลุ่มที่มีอัตราการงอกต่ำเช่นเมล็ดผักชีมีอัตราการงอกสูงอย่างมีนัยสำคัญเมื่อใช้ไคโตโอลิโกแซคคาไรด์ที่ขนาดน้ำหนักโมเลกุล 13,000 และความเข้มข้น 3.75 ส่วนในล้านส่วน.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ชนิดของทรัพยากร Location Call number สถานะ Last seen Copy No. บาร์โค้ด
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 1 RP2002/1230
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 2 RP2002/1230-2

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300