การศึกษาการกลั่นสลายถ่านหินประเทศไทยเพื่อผลิตถ่านโค้ก = Study of carbonization of Thai coal for cooking materials / Suthiporn Chewasatn...[et al.] (CONFIDENTIAL)

ผู้แต่งร่วม: Boonliam, Nuttawoot | Chewasatn, Sutiporn | Eamchotchawalit, Chutima | Imchai, Suvit | Kaewpreak, Nittaya | Khunsoonthornkit, Ardharn | Meesoontorn, Virote | Phasantie, Niwate | Vicharnrathakan, Pharos | Wathanatham, Satta | ชุติมา เอี่ยมโชติชวลิต | นิตยา แก้วแพรก | อาจหาญ คุณสุนทรกิจ | สุทธิพร ชีวสาธน์ | ณัฐวุฒิ บุญเลี่ยม | ฝาสันเทียะ, นิเวช | วิโรจน์ มีสุนทร | ศรัทธา วัฒนธรรม | พรศ วิจารณ์รัฐขันธ์ | สุวิทย์ อิ่มใจ | Thailand Institute of Scientific and Technological Research
Language: Thai ชื่อชุด: Class. Invest. no. 41-08ข้อมูลการพิมพ์: Bangkok : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 2000 รายละเอียดตัวเล่ม: 187 p.ชื่อเรื่องอื่นๆ: การศึกษาการกลั่นสลายถ่านหินประเทศไทยเพื่อผลิตถ่านโค้กหัวเรื่อง: Carbonization | Coal | Coke | Fuel | Proximate analyses | Sub-bituminous coal | Ultimate analysesสาระสังเขป: Coal from 4 basins namely, Nong Ya Plong, Mae Tan, Li and Chiang Muan were characterized on proximate and ultimate analyses. Based on the ASTM standard, all coals studied are classified into sub-bituminous coal with non-coking properties but high heating value. The study on carbonization process showed that the optimum process for producing formed coke from char could be obtained from the mixture of coals, being carbonized at 1,100ฐC for one hr and bitumen at about 200ฐC. A mixture was brightened into cylindrical shape and cured at 200ฐC for one hr and heat-treated in the absence of air at 1,100ฐC for another one hr, to result in formed coke. The formed coke produced from Li basin-coal exhibited the best heating value with low sulfur content and the quality is comparable to the imported coke. -Authors. Review: ถ่านหินจากแอ่งหนองหญ้าปล้อง, แอ่งแม่ทาน, แอ่งลี้ และแอ่งเชียงม่วน ถูกนำมาศึกษาสมบัติด้าน proximate analysis และ ultimate analysis เพื่อจำแนกชนิดของถ่านหินจากแต่ละแหล่งตามมาตรฐาน ASTM. พบว่าถ่านหินจากทั้ง 4 แอ่ง เป็นถ่านหินชนิดซับบิทูมินัส มีสมบัติเป็น non-coking แต่ให้ค่าความร้อนสูง. การศึกษากระบวนการเพิ่มปริมาณคาร์บอนของตัวอย่างถ่านหินจากแต่ละแอ่ง พบว่ากระบวนการเพิ่มคาร์บอนที่เหมาะสมที่สุด ได้จากการผสมถ่านสุกที่ผ่านการกลั่นสลายที่ 1,100ฐซ. นาน 1 ชม. กับยางมะตอยที่อุณหภูมิ 200ฐซ. และนำไปอัดขึ้นรูปทรงกระบอก. ส่วนผสมอัดก้อนถูกนำไปอบที่อุณหภูมิ 200ฐซ. นาน 1 ชม. และทำการโค้กเผาในที่อับอากาศหรืออากาศเข้าไปทำปฏิกิริยากับตัวอย่างน้อยที่สุดที่อุณหภูมิ 1,100ฐซ. นาน 1 ชม. จะได้ถ่านโค้กเทียม. ถ่านโค้กเทียมจากถ่านหินแอ่งลี้จะให้สมบัติด้านเชื้อเพลิงดีที่สุด มีปริมาณกำมะถันต่ำและมีคุณภาพเทียบเคียงกับคุณภาพถ่านโค้กนำเข้าจากต่างประเทศ. -ผู้แต่ง.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ไม่มีรายการทางกายภาพสำหรับระเบียนนี้

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300