การพัฒนาสารลิกนินจากน้ำดำกระบวนการผลิตเยื่อกระดาษเพื่อการใช้ประโยชน์ทางอุตสาหกรรม = lignosulfonate from black liquor of pulping processes for industrial usages / Peesamai Janvanitpanjakul...[et al.]

ผู้แต่งร่วม: Chaijuntuk, Pairoj | Janbunjong, Pichit | Janvanitpanjakul, Peesamai | Lao-ubol, Supranee | Somwongsa, Punthinee | Srivichit, Decho | Thongnoi, Suwatchai | Wungdheethum, Romanie | พิชิต เจนบรรจง | พิศมัย เจนวนิชปัญจกุล | สุปราณี เหล่าอุบล | ไพโรจน์ ชัยจันทึก | ทองน้อย, สุวัฒน์ชัย | เดโช ศรีวิจิตร | พันธ์ฐิณี สมวงศ์ษา | รมณีย์ หวังดีธรรม
Language: Thai ชื่อชุด: Res. Proj. no.40-02 ; Rep. no. 1(PA)ข้อมูลการพิมพ์: Bangkok : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 2000. รายละเอียดตัวเล่ม: 44 p.ชื่อเรื่องอื่นๆ: การพัฒนาสารลิกนินจากน้ำดำกระบวนการผลิตเยื่อกระดาษเพื่อการใช้ประโยชน์ทางอุตสาหกรรมหัวเรื่อง: Black liquor | Lignin | Lignosulfonate | Pulping liquor | Pulping processสารสนเทศออนไลน์: Click here to access full-text สาระสังเขป: Pulp and paper industries have developed continously. Presently, pulping capacity is about 800,000 tons per year. Black liquor, byproduct from pulping process, is organic substance having high sludge and pH. Currently, black liquor in the country is used as fuel in the chemical recovery plant of its pulp mill. However, black liquor is an organic substance composing of lignin as mentioned earlier. In the developed country, lignin in the form of lignosulfonate is accepted as an environmental friendly substance to be used widely in various industries. The study on utilization of black liquor for other usage was conducted aiming at adding the value of organic lignin substance and using the wood resource efficiently.Review: Results showed that lignosulfonate from black liquors of eucalyptus pulping by kraft process composed of lignosulfonate component and phenolic hydroxyl group between 41.97 - 98.31 and 0.41 - 2.64 percent in which higher than those from rice straw pulping by sulfite process of between 0.15 - 31.98 and 0.06 - 0.83 percent, respectively. Moreover, the testing of compressive strength of cement mortar mixed with sulfonated lignins from kraft and sulfite processes showed results comparable to that with commercial concrete admixture. AuthorsReview: The survey on quality and quantity of black liquor from various pulping processes was conducted. World production and usage of lignosulfonate and quality of imported lignosulfonate for industrial usages were studied. For the experiment, lignosulfonates were extracted and produced from black liquors of rice straw pulping by sulfite process and eucalyptus pulping by kraft process. The chemical and physical properties of the mentioned products including the comparison to the commercial concrete admixture were determined.Review: ในการศึกษา ได้ทำการสำรวจปริมาณและวิเคราะห์คุณภาพน้ำดำจากกระบวนการผลิตเยื่อกระดาษของโรงงานในประเทศ, ศึกษาปริมาณการผลิตและการใช้ของลิกโนซัลโฟเนตของโลก, ศึกษาคุณภาพลิกโนซัลโฟเนตที่นำเข้าสำหรับใช้ในอุตสาหกรรมต่าง ๆ, ทำการทดลองสกัด และผลิตสารลิกโนซัลโฟเนตจากน้ำดำกระบวนการต้มเยื่อฟางข้าวด้วยวิธีซัลไฟท์, และจากน้ำดำกระบวนการต้มเยื่อยูคาลิปตัสด้วยวิธีคราฟท์. นอกจากนั้น ได้ทำการวิเคราะห์/ทดสอบคุณ-ภาพทั้งเคมีและฟิสิกส์ ของสารลิกโนซัลโฟเนตที่ได้ รวมถึงเปรียบเทียบคุณสมบัติของสารลิกโน-ซัลโฟเนตที่สกัดได้กับน้ำยาที่จำหน่ายในท้องตลาด ในการใช้เป็นสารเคมีผสมเพิ่มสำหรับคอนกรีต.Review: ผลการทดลองวิเคราะห์ พบว่าลิกโนซัลโฟเนตที่ได้จากสารลิกนินที่สกัดจากน้ำดำ กระบวนการต้มเยื่อยูคาลิปตัสด้วยวิธีคราฟท์ มีปริมาณลิกโนซัลโฟเนต และหมู่ฟีนอลิกไฮดรอกซิล ระหว่าง 41.97 - 98.31 และ 0.41 - 2.64% ซึ่งสูงกว่าสารลิกนินที่ได้จากน้ำดำกระบวนการต้มเยื่อฟางข้าวด้วยวิธีซัลไฟท์ ที่มีปริมาณลิกโนซัลโฟเนตและหมู่ฟีนอลิกไฮดรอกซิลระหว่าง 0.15 - 31.98 และ 0.06 - 0.83% ตามลำดับ. นอกจากนั้นแล้ว การทดสอบความต้านแรงอัดของคอนกรีตควบคุมเมื่อทดสอบโดยใช้สารลิกโนซัลโฟเนตจากน้ำดำกระบวนการต้มเยื่อยูคาลิปตัสด้วยวิธีคราฟท์ และจากน้ำดำกระบวนการต้มเยื่อฟางข้าวด้วยวิธีซัลไฟท์ เปรีบเทียบกับน้ำยาที่จำหน่ายในท้องตลาดในการใช้เป็นสารเคมีผสมเพิ่มสำหรับคอนกรีต พบว่าให้ผลใกล้เคียงกัน. - ผู้แต่งReview: อุตสาหกรรมเยื่อและกระดาษเป็นอุตสาหกรรมที่มีความเติบโตอย่างต่อเนื่อง ในปัจจุบันกำลังการผลิตเยื่อกระดาษในประเทศสูงถึง 800,000 ตัน ต่อปี.น้ำดำ หรือ black liquor ซึ่งเป็นผลพลอยได้จากกระบวนการต้มเยื่อ เป็นสารประกอบอินทรีย์ ที่เป็นของเหลวสีเข้ม มีกากตะกอน และค่าความเป็นกรดด่างสูง,ได้ถูกนำมาใช้เป็นเชื้อเพลิงในเตาเผา และนำสารเคมีกลับคืนเข้าสู่กระบวนการผลิต. อย่างไรก็ตาม น้ำดำเป็นสารประกอบอินทรีย์ ที่มีลิกนินเป็นองค์ประกอบหลัก. ในต่างประเทศมีการนำสารลิกนินที่อยู่ในรูปสารลิกโนซัลโฟเนต ซึ่งเป็นที่ยอมรับว่าเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม โดยที่ไม่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม มาใช้ประโยชน์ในทางอุตสาหกรรมอย่างกว้างขวาง เช่น สามารถนำไปใช้ในการทำกาว (adhesives), เป็นสารผสมเพิ่มในวัสดุก่อสร้าง (additives), เป็นสารเพิ่มอินทรียวัตถุในดิน เพิ่มธาตุอาหารในดินสำหรับพืช และใช้เป็นสารเชื่อมในการผลิตวัสดุทนไฟ (binder) เป็นต้น. ในการศึกษานี้ จึงหาทางนำน้ำดำไปใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรมอื่น ให้เป็นสารที่มีมูลค่าสูงขึ้นซึ่งเป็นการใช้ทรัพยากรไม้อย่างคุ้มค่าด้วย.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ชนิดของทรัพยากร Location Call number สถานะ Last seen Copy No. บาร์โค้ด
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 1 RP2000/1117
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 2 RP2000/1117-2
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 3 RP2000/1117-3

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300