การผลิตถ่านกัมมันต์จากพีทโดยการกระตุ้นด้วยไอน้ำในเตาฟลูอิไดซ์เบด = investigation on steam activation of peat materials / Boonchai Thakunmahachai, Yoshio Noda, Katsuji Ishibashi

โดย: Thakunmahachai, Boonchai
ผู้แต่งร่วม: Ishibashi, Katsuji | Noda, Yoshio | บุญชัย ตระกูลมหชัย | Thailand Institute of Scientific and Technological Research. Chemical Industry Department Chemical Formulation and Processing Laboratory
Language: English ชื่อชุด: Grant (E) Res. Proj. no. 34-01 ; Rep. no. 3ข้อมูลการพิมพ์: Bangkok : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 1992 รายละเอียดตัวเล่ม: 22 p.ชื่อเรื่องอื่นๆ: การผลิตถ่านกัมมันต์จากพีทโดยการกระตุ้นด้วยไอน้ำในเตาฟลูอิไดซ์เบดหัวเรื่อง: Activated carbon | Carbonization | Fluidized bed processors | Peat | Steam activationสารสนเทศออนไลน์: Click here to access full-text สาระสังเขป: Peats from Thailand and Japan were studied of their properties, then carbonized in a fixed bed carbonizer. Carbonized Thai peat was determined for its properties and used to produce activated carbon by superheated steam activation in fluidized bed.สาระสังเขป: Thai peat and Japanese peat were carbonized at 500 degree celsius for 3 hours in a fixed bed carbonizer. From the proximate analysis, the ash content of carbonized Thai peat (8.0 percent) was lower than carbonized Japanese peat (15.7, 25.2, 18.3 percent for Japanese peat A, B, C type). The volatile matter was a little higher (19.5 percent for Thai peat and 18.1, 15.7, 17.5 percent for Japanese peat A, B, C type) and fixed carbon was higher (72.2 percent for Thai peat and 65.8, 59.3, 64.3 percent for Japanese peat A, B, C type). It was also noted that the ash content of carbonized Thai peat increased inversely with particle size, but the ash content of carbonized Japanese peat increased with the particle size.สาระสังเขป: Thai peat was found to contain lower ash content, (3.9 percent for Thai peat and 7.1, 10.5, 8.8 percent for Japanese peat A, B, C type). Thai peat was also found to contain lower volatile matter (53.4 percent for Thai peat and 65.7, 58.9, 65.2 percent for Japanese peat A, B, C type) but fixed carbon was higher (30.2 percent for Thai peat and 23.6, 21.0, 23.8 percent for Japanese peat A, B, C type).สาระสังเขป: The carbonized Thai peat was then activated at 900 degree celsius for 10 to 60 minutes in the heating coil activator. Product of high methylene blue adsorption (244.6-257.3) mg/g) are obtained 900 degree celsius and activation time of 60 minutes using carbonized peat of 115 or 135 cc.However, its yield was very low, further experiment to improve the method of activation for its higher adsorption and higher yield should be carried on. /Authors.สาระสังเขป: ได้ศึกษาคุณสมบัติของพีทไทยและพีทญี่ปุ่น และนำมาเผาในเตาเผาแบบนิ่ง (fixed bed carbonizer) เพื่อศึกษาคุณสมบัติของถ่านพีทที่ได้, จากนั้นกระตุ้นถ่านพีทที่ได้จากพีทไทยด้วยไอน้ำ อิ่มตัวยิ่งยวดในเตากระตุ้นแบบฟลูอิไดซ์เบด.สาระสังเขป: จากการทดลองพบว่าพีทไทยมีค่าเถ้าต่ำกว่าพีทญี่ปุ่นมาก (3.9% สำหรับพีทไทย และ 7.1, 10.5, 8.8% สำหรับพีทญี่ปุ่นแบบ A, B, C ตามลำดับ). นอกจากนั้นพีทไทยมีค่าสารระเหยต่ำกว่าพีทญี่ปุ่น (53.4% สำหรับพีทไทย และ 65.7, 58.9, 65.2 สำหรับพีทญี่ปุ่นแบบ A, B, C ตามลำดับ) แต่ค่าถ่านคงตัวสูงกว่า (30.2% สำหรับพีทไทยและ 23.6, 21.0, 23.8% สำหรับพีทญี่ปุ่นแบบ A, B, C ตามลำดับ).สาระสังเขป: สำหรับถ่านพีทที่ได้จากการเผาในเตาแบบนิ่งที่อุณหภูมิ 500oซ. นาน 3 ชั่วโมง พบว่าถ่านพีทไทยมีค่าเถ้าน้อยกว่าถ่านพีทญี่ปุ่นมาก (8.0% สำหรับพีทไทย และ 15.7, 25.2, 18.3% สำหรับพีทญี่ปุ่นแบบ A, B, C ตามลำดับ), ค่าสารระเหยสูงกว่าเล็กน้อย (19.5% สำหรับพีทไทยและ 18.1, 15.7, 17.5% สำหรับพีทญี่ปุ่นแบบ A, B, C ตามลำดับ) และค่าถ่านคงตัวสูงกว่า (72.2% สำหรับพีทไทย และ 65.8, 59.3, 64.3% สำหรับพีทญี่ปุ่นแบบ A, B, C ตามลำดับ). นอกจากนั้นยังพบว่าถ่านพีทไทยที่มีขนาด ใหญ่จะมีค่าเถ้าต่ำกว่าที่มีขนาดเล็กตรงข้ามกับถ่านพีทญี่ปุ่น ซึ่งขนาดใหญ่จะมีค่าเถ้าสูงกว่าขนาดเล็ก.สาระสังเขป: หลังจากนั้นถ่านพีทไทยจะถูกกระตุ้นด้วยไอน้ำยิ่งยวดในเตาฟลูอิไดซ์เบดที่ 900oซ. เป็นเวลานาน 10-60 นาที. ถ่านกัมมันต์ที่ได้มีค่าการดูดซับสูงที่สุด (ค่า methylene blue adsorption 244.6-257.3 มก./ก.) เมื่อกระตุ้นที่อุณหภูมิ 900oซ. นาน 60 นาที โดยใช้ปริมาตรของสารตัวอย่างครั้งละ 115 และ 135 ซีซี., แต่ค่า yield ต่ำมาก จึงควรปรับปรุงวิธีการกระตุ้นให้ได้ผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพดีและได้ปริมาณมากขึ้น. -ผู้แต่ง.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ชนิดของทรัพยากร Location Call number สถานะ Last seen Copy No. บาร์โค้ด
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 1 RP1992/901
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 2 RP1992/901-2
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 3 RP1992/901-3
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 4 RP1992/901-4

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300